Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประคอง ตังประพฤทธิ์กุล-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ บวรสิน-
dc.contributor.authorรัตนา พิเคราะห์งาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-12-26T04:18:12Z-
dc.date.available2012-12-26T04:18:12Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9745848379-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractได้ทำการศึกษา ผลของสารสกัดกระเทียม ต่อการหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน และคุณภาพของตัวอสุจิ โดยป้อนสารสกัดกระเทียมแก่หนูแรทเพศผู้ขนาด 80, 160 และ 320 มก/กก. เป็นเวลา 30 วัน เจาะเลือดทุก 10 วัน เพื่อหาระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน, โคเลสเตอรอล, ไตรกลีเซอไรด์, เอชดีแอล และแอลดีแอล ในซีรัม และศึกษาการเคลื่อนที่ ความหนาแน่น จำนวนตัวอสุจิที่มีชีวิต ตลอดจนความสามารถในการผสมพันธุ์ โดยศึกษาถึงจำนวนการฝังตัวของตัวอ่อน และศึกษาผลของสารสกัดกระเทียม ต่อการหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเซลล์ลัยดิก ในหลอดทดลอง ผลการศึกษาพบว่า สารสกัดกระเทียมขนาด 160 มก/กก.สามารถลดระดับ โคเลสเตอรอล, ไตรกลีเซอไรด์, แอลดีแอลและ ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ตลอดจนลดคุณภาพของตัวอสุจิ โดยลดระดับ โคเลสเตอรอล (50.05±4.19, 56.66± 2.97, 53.60±5.63 มก/เดซิลิตร) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (60.41±4.34 มก/เดซิลิตร) ระดับไตรกลีเซอไรด์ ลดลงทุก 10 วัน ตามลำดับ (43.18±10.64>38.17±6.68>32.68±6.22 มก/เดซิลิตร) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (75.00±2.15 มก/เดซิลิตร) ระดับแอลดีแอลลดลงทุก 10 วัน ตามลำดับ (6.59±0.36>5.57±1.33>5.58±1.79 มก/เดซิลิตร) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) เมื่อเทียบกลุ่มควบคุม (12.6±0.89 มก./เดซิลิตร) แต่ระดับเอชดีแอลจะเพิ่มขึ้นทุก 10 วันตามลำดับ (41.45±6.61<44.36±3.90<45.36±6.13 มก/เดซิลิตร) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (36.41±1.45 มก/เดซิลิตร) ระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนลดลงทุก 10 วัน ตามลำดับ (2098.48±+149.00 > 2006.96±109.28>1920.48±202.38 พิโคโมล/ลิตร) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (2540.59±224.58 พิโคโมล/ลิตร)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) ส่วนคุณภาพของตัวอสุจิ สารสกัดกระเทียม 160 มก./กก. ทำให้จำนวนตัวอสุจิลดลง จาก 85±12.56x106 เป็น 30±11.13x106 ตัว/ปริมาตรน้ำอสุจิ 10 ไมโครลิตร และเปอร์เซ็นต์อสุจิที่มีชีวิตลดลงจาก 76% เป็น 24% ส่วนความสามารถในการผสมติด พบว่ากลุ่มที่ให้สารสกัดกระเทียม 160 มก/กก. สามารถลดจำนวนการ ฝังตัวของตัวอ่อนได้ถึง 50% และเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ให้สารสกัดกระเทียม 160 มก/กก. ร่วมกับให้ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน 50 ไมโครกรัม พบว่าจำนวนการฝังตัวของตัวอ่อนจะเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่า ของกลุ่มที่ให้สารสกัดกระเทียมเพียงอย่างเดียว และพบว่า สารสกัดกระเทียมขนาด 0.125 มก. ลดการหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเซลล์ลัยดิกในหลอดทดลอง โดยลดลงจาก 91±6.21 เฟมโตโมล/100 ไมโครลิตร/ 6x105 เซลล์ เป็น 51±6.61 เฟนโตโมล/100 ไมโครลิตร/ 6x105 เซลล์-
dc.description.abstractalternativeEffects of garlic extract on testosterone secretion and sperm qualifies were studied in adult male rats. Garlic extracted by chloroform at doses of 80, 160 and 320 mg/kg were daily forced-fed to animals for 30 days. Serum cholesterol, triglyceride, LDL, HDL and testosterone levels were assayed : the density, motility, viability and fertility of sperms were studied. Testosterone secretion from mouse's Leydig's cell were conducted in vitro. The treatment at dose of 160 mg/kg decreased serum cholesterol triglyceride, LDL, testosterone levels, and sperm qualities. The dose or 160 mg/kg dramatically decreased serum cholesterol (50.05±4.19, 56.66±2.97, 53.60±5.633 mg/dl) were observed compare to that of the control group (60.41±4.34 mg/dl) ; The decrement of triglyceride found at D10>D20>D30 were 43.18±7.l4>38.17±6.68>32.78±6.22 mg/dl whereas that of the control group was 75.00±2.15 mg/dl ; serum LDL 6.59±0.36>5.75±1.33>5.58±l.79 mg/dl were different from that of the control group (12.62±0.89 mg/dl). On the other hand serum HDL relatively increased in 10 consecutive days (41.45±6.61< 44.36±3.90<45.36±6.10 mg/dl) ; Serum testosterone (2098±149.00>2006.48±l09.28 J >1920.48±202.38 pmol/L were relatively lower than that of the control group (2540.59±224.58 pmol/L). The 160 mg/kg extract reduced the sperm density from 85±12.86 to 30±11.30 x 106 cell/10 ul. In addition, the above dose minimized the sperm viability from 76 to 24% and decreased the implantation by 50% The combination of garlic extract 160 mg/kg and testosterone 50 ug restored the implantation by 3 fold compare to the treatment by sole extract. Besides, the extract at dose of 0.125 mg partly inhibited the secretion of testosterone levels from mouse's Leydig's cell.-
dc.format.extent2780234 bytes-
dc.format.extent3076917 bytes-
dc.format.extent6959486 bytes-
dc.format.extent5519050 bytes-
dc.format.extent6429379 bytes-
dc.format.extent4873470 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอสุจิ-
dc.subjectเทสโตสเตอโรน-
dc.subjectสารสกัดจากพืช-
dc.subjectกระเทียม-
dc.titleผลของสารสกัดกระเทียมต่อระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนในซีรั่มและคุณภาพของตัวอสุจิในหนูแรทเพศผู้en
dc.title.alternativeEffects of garlic extract on serum testosterone level and sperm quality in adult male ratsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสรีรวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattana_pi_front.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_pi_ch1.pdf3 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_pi_ch2.pdf6.8 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_pi_ch3.pdf5.39 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_pi_ch4.pdf6.28 MBAdobe PDFView/Open
Rattana_pi_back.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.