Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28198
Title: Factors influecing depression among elderly in Ban Bangkhae nursing homes, Bangkok, Thailand after flooding
Other Titles: ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะซึมเศร้าหลังจากภาวะน้ำท่วมในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบางแคกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
Authors: Diana Somporn
Advisors: Neeser, Karl
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: karl.neeser@bluewin.ch
Subjects: Depression, Mental
Depression in old age -- Thailand
Older disaster victims
Floods -- Thailand
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Background: Depression is the most common mental health disorder, a disease that that involves the body, mood and thoughts. It is often under diagnosed, especially among elderly people in the nursing home setting. The objective of this study is to determine the prevalence of depression among the elderly people in the nursing home setting, Bangkok, Thailand and identify factors associated with depression. Methods: Cross-sectional study was conducted among 237 participants above the age of 60 at Ban Bangkhae nursing homes; Bangkok Thailand, The measurement tools consisted of Thai Geriatric Depression Scale, UCLA Loneliness Scale (ULS) and other related questionnaires. Multivariable linear regression was used to find association between depressive symptoms and factors with statistical significant of each analysis against the p-value 0.05. Results: The prevalence of major depression was 7.2% and the prevalence of minor depression was 32.1%. The adjusted R Square is 0.413, and F value is 33.873 (p value <0.001) and the Durbin-Watson is 1.746. Loneliness (β = 0.54, P < 0.001), Insomnia, (β = 1.85, P < 0.002) and Lack Social Activity (β = -0.39, P < 0.001) Inadequate of Vitamin D (β = -1.45, P < 0.014) and physical activity (β = -1.46, P < 0.021) associated with depression where (β) is the regression coefficient. Insomnia, loneliness, Physical Activity, Inadequate Vitamin D and Social Activity were found to be the prominent factors with depressive symptoms among Ban Bangkhae nursing homes setting. Limitation: Unforeseen flooding natural disaster from October and December 2011 may have overestimate of the prevalence of depression. Conclusion: The prevalence of depressive symptoms 39.1% was high in comparing to the findings in Thai community dwelling elderly. Insomnia, loneliness, Lack of social Activity, Physical Activity and Inadequate Vitamin D were identified as important factors to emphasize when assessing for depression in the nursing home setting. The findings of this study will assist in developing adequate prevention and treatment strategies among the elderly in the nursing home population.
Other Abstract: ความเป็นมา: ภาวะซึมเศร้าเป็นภาวะความผิดปกติที่พบบ่อยทางด้านจิตใจโรคที่มีปัญหาสภาวะทางจิตใจซึ่งเป็นผลที่เกี่ยวเนื่องมาจากปัญหาทางกาย อารมณ์ และความคิด ส่วนมากจะพบในกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชรา วัตถุประสงค์การศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีเพื่อ ศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร ประเทศไทยและศึกษาถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา ภาคตัดขวาง จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 237 คน โดยมีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้โดยใช้เครื่องมือการวัดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุไทย TGDS, UCLA Loneliness Scale (ULS) และแบบสอบถามอื่นๆที่เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ในการวิจัย สมการการถดถอยเชิงเส้นหลายตัวแปร (Multivariable linear regression) เพื่อศึกษาใช้ในการค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าและปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีนัยสำคัญทางสถิติ (P-Value) 0.05 ผลการศึกษา: อัตราความชุกของภาวะซึมเศร้าที่สำคัญมากคือร้อยละ 7.2 และอัตราความชุกของภาวะซึมเศร้าเล็กน้อยคือ ร้อยละ 32.1 33.873 (The adjusted R Square is 0.413, and F value is 33.873 (p value <0.001) and the Durbin-Watson is 1.746). สภาวะความเหงา (β = 0.54, P <0.001) อาการนอนไม่หลับ (β = 1.85, P <0.002) และหลีกเลี่ยงการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม (β = -0.39, P <0.001) การได้รับวิตามินดีไม่เพียงพอ (β = -1.45, P <0.014) และการออกกำลังกาย (β = -1.46, P <0.021) โดยมีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าที่สัมประสิทธิ์การถดถอย (β) คือ อาการนอนไม่หลับเหงา กิจกรรมการออกกำลังกาย การได้รับวิตามินดีไม่เพียงพอ และการหลีกเลี่ยงไม่เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมพบว่ามีปัจจัยที่โดดเด่นร่วมกับภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค ข้อจำกัดในการศึกษา: ภาวะน้ำท่วมเป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้และเกิดขึ้นในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2554 อาจจะมีผลต่อการประเมินอัตราความชุกของภาวะซึมเศร้าสูงขึ้น สรุป: อัตราความชุกของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยละ 39.1 ซึ่งอยู่ในระดับสูง โดยจากการเปรียบเทียบผลการศึกษาวิจัยในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชุมชน ประเทศไทยพบว่า มีภาวะอาการนอนไม่หลับ ภาวะความเหงา การหลีกเลี่ยงไม่เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม กิจกรรมการออกกำลังกาย และการได้รับวิตามินดีไม่เพียงพอ พบว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค ผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้จะช่วยในการพัฒนากลยุทธ์และแนวทางในการการป้องกันการรักษาของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราต่อไป
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28198
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1797
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1797
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
diana_so.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.