Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28212
Title: Knowledge, attitude, and practice toward helmet use among motorcycle rider and passenger in Ratchaburi Province, Thailand
Other Titles: ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตนต่อการสวมหมวกนิรภัยในผู้ขับขี่ และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ในจังหวัดราชบุรี ประเทศไทย
Authors: Sirinan Suwannaporn
Advisors: Prathurng Hongsranagon
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: Prathurng.H@Chula.ac.th
Subjects: Motorcycles -- Safety appliances
Motorcyclists -- Attitude (Psychology) -- Thailand
Motor vehicle occupants -- Attitude (Psychology) -- Thailand
Motorcycle helmets
Traffic safety
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research was a cross-sectional research aimed at studying the knowledge, attitude, and practice toward helmet use among motorcycle riders and passengers in Ratchaburi Province. The research objectives were to describe and to find factors associated with helmet use. The research samples were those between 18-59 years old who were the motorcycle riders or passengers and had been living in Ratchaburi Province, as well as had their motorcycle use at least twice a week. Total samples were 430. Data collection was done by the use of questionnaire incorporating information on general personal status, on status of motorcycle use and helmet use, on knowledge guideline on helmet use while riding motorcycle, including attitude and practice toward helmet use. Data was collected in February 2012. The statistics in use were descriptive statistics and the Chi-square test and Pearson’s Correlation to find an association between general personal data, knowledge scores, and attitude toward practice in helmet use. The study found that respondents aged were between 40 to 59 years old (24.2%), 50.5% were female, 25.8% were finished their secondary school, 53.5% were occupied as general wage earners, 68.1% had their personal average monthly income in the bracket of less than 10,000 baht. Eighty-seven point two percent had their household income in the bracket of 10,000-50,000 baht. Sixty-six point five percent of the samples used their helmet and majority of the samples were motorcycle riders. Eighty-nine point one percent had their experiences in motorcycling between 1-20 years long and 72.1% used the motorcycles on a daily basis. Eighty-one point nine percent were the samples with their own helmets and 40.1% of them used half-face helmet type. Seventy-six point four percent of the samples used the helmet certified by Thai Industrial Standards Institute and 47.2% of them had the length of helmet use between 3-5 years time. The samples did not experience any accidents in the past one year and those who faced one did not wear their helmet (94.7% and 60.9% respectively). The level of knowledge was moderate and the attitude toward helmet use was positive. The level of practice was divided into good and excellent levels. The result revealed that scores of knowledge and attitude were associated with the practice (p-value <0.05). It was concluded that knowledge and attitude had an effect on practice which can be used in planning and in problem solving regarding ignorance of or awareness on helmet use in motorcycling as public health significance.
Other Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาภาคตัดขวางเกี่ยวกับการวัดความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติต่อการสวมหมวกนิรภัยในผู้ขับขี่ และผู้โดยสารรถจักรยานยนต์ ในจังหวัดราชบุรี วัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่ออธิบายและตรวจสอบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสวมหมวกนิรภัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีอายุระหว่าง 18 ถึง 59 ปี และเป็นผู้ขับขี่ หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดราชบุรี รวมถึงใช้รถจักรยานยนต์เป็นประจำอย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห์จำนวนรวมทั้งสิ้น 430 ราย ดำเนินการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประกอบไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับสถานะทั่วไปส่วนบุคคล ข้อมูลสถานะการใช้รถจักรยานยนต์และการสวมหมวกนิรภัย ข้อมูลเกี่ยวกับแนวความรู้การสวมหมวกนิรภัยในการใช้รถจักรยานยนต์ รวมไปถึง เจตคติ และการปฏิบัติต่อการสวมใส่หมวกนิรภัย ทำการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 สถิติที่ใช้บรรยายข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะทั่วไปส่วนบุคล คะแนนความรู้ และเจตคติ ต่อการปฏิบัติตนในการสวมหมวกนิรภัยโดยใช้ไค-สแควร์ และสหสัมพันธ์เพียร์สัน เพื่อตรวจสอบ การศึกษาพบว่า ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างอยู่ในกลุ่มอายุระหว่าง 40 ถึง 59 ปี ร้อยละ 24.2 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 50.5 จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 25.8 มีอาชีพรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 53.5 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของส่วนบุคคลอยู่ในกลุ่มน้อยกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 68.1 รายได้ครัวเรือนอยู่ในกลุ่ม 10,000 ถึง 50,000 บาท ร้อยละ 87.2 สถานะการใช้หมวกนิรภัยและรถจักรยานยนต์กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้ขับขี่ ร้อยละ 66.5 มีประสบการณ์ในการใช้รถจักรยานยต์ระหว่าง 1 ถึง 20 ปี ร้อยละ 89.1 ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้รถจักรยานยต์ทุกวัน ร้อยละ 72.1 มีหมวกนิรภัยเป็นของตนเองมีอยู่ร้อยละ 81.9 ประเภทหมวกนิรภัยที่ใช้คือแบบครึ่งใบ ร้อยละ 40.1 หมวกนิรภัยที่ใช้ได้รับมาตรฐาน มอก. ร้อยละ 76.4 อายุการใช้งานของหมวกนิรภัยอยู่ระหว่าง 3 ถึง 5 ปี ร้อยละ 47.2 ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างไม่เคยมีประสบการณ์การเกิดอุบัติเหตุในหนึ่งปีที่ผ่านมา และผู้ที่เกิดอุบัติเหตุไม่สวมหมวกนิรภัย คิดเป็นร้อยละ 94.7 และ 60.9 ตามลำดับ ระดับความรู้จัดอยู่ในระดับปานกลาง และเจตคติจัดอยู่ในด้านบวกต่อการสวมหมวกนิรภัย ส่วนการปฏิบัติแบ่งเป็นกลุ่มปฏิบัติดี และดีเยี่ยม คะแนนระหว่างกลุ่มความรู้ และเจตคติ ต่อการปฏิบัติ พบว่ามีความสัมพันธ์กันทั้งหมด (p-value <0.05) ซึ่งกล่าวได้ว่าความรู้ และแนวการคิดจะส่งผลไปสู่การปฏิบัติ นำมาซึ่งการวางแผน และแก้ไขปัญหาต่อการละเลย หรือตระหนักในการสวมหมวกนิรภัยในการขับขี่จักรยานยนต์ ซึ่งถือว่าเป็นความสำคัญทางด้านสาธารณสุข
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28212
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1800
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.1800
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirinan_su.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.