Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28455
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.advisorวัลลภา อรุณไพโรจน์-
dc.contributor.authorนิชนันท์ ชวนชื่น-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-01-15T06:25:22Z-
dc.date.available2013-01-15T06:25:22Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28455-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractได้วิเคราะห์ปริมาณบีตากลูแคนจากยีสต์ 127 สายพันธุ์ ที่แยกได้จากตัวอย่างดินและผลไม้สุกจำนวน 55 ตัวอย่าง ที่สุ่มเก็บจาก 10 จังหวัดในประเทศไทย เพื่อการวิเคราะห์ปริมาณบีตากลูแคน และยีสต์ 20 สายพันธุ์จากศูนย์จุลินทรีย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) พบว่ายีสต์ 5 สายพันธุ์ ที่มีปริมาณบีตากลูแคนสูง ได้แก่ ยีสต์สายพันธุ์ Debaryomyces hansenii TISTR5155 Kluyveromyces marxianus TISTR5116 Candida parapsilosis TISTR5904 Kloeckera apiculata TISTR5090 และ Candida krusei TISTR5905 ตามลำดับ ภาวะที่เหมาะสมในการผลิตบีตากลูแคนเมื่อเลี้ยงในอาหารเหลว YM คือ กลูโคส 5% น้ำหนักต่อปริมาตร สารสกัดจากยีสต์ 0.3% และ เพพโตน 0.5% น้ำหนักต่อปริมาตร โดยใช้ปริมาณกล้าเชื้อเริ่มต้นที่ 5% โดยปริมาตรและปรับค่าความเป็นกรดเบสเริ่มต้นเท่ากับ 5.0 เลี้ยงบนเครื่องเขย่าที่อัตราเร็ว 200 รอบต่อนาทีที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส วิเคราะห์ปริมาณบีตากลูแคนที่ 24 ชั่วโมง พบว่ายีสต์สายพันธุ์ Debaryomyces hansenii TISTR5155 และ Candida parapsilosis TISTR5904 ให้ปริมาณบีตากลูแคนสูงที่สุดคือ 1.06 และ 1.65 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ เมื่อใช้ภาวะดังกล่าวเลี้ยงในระดับถังหมักแบบกะ พบว่ายีสต์ทั้ง 2 สายพันธุ์ให้ปริมาณบีตากลูแคนที่สูงขึ้นโดยที่ Debaryomyces hansenii TISTR5155 และ Candida parapsilosis TISTR5904ให้ปริมาณบีตากลูแคน 1.24 และ 3.19 กรัมต่อลิตร ตามลำดับ สายพันธุ์ยีสต์ที่คัดเลือกและจัดจำแนกชนิด Candida parapsilosis TISTR5904 และ Candida krusei TISTR5905 ได้ฝากเก็บไว้ ณ ศูนย์จุลินทรีย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)en
dc.description.abstractalternativeIn the present study, 127 yeast strains were isolated from 55 soil and ripe fruit samples which collected from 10 provinces in Thailand. They were used in examining the β-glucan content including 20 strains obtained from the Microbiological Resources Centre (Bangkok-MIRCEN), The Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).The 5 selected strains, Debaryomyces hansenii TISTR5155, Kluyveromyces marxianus TISTR5116, Candida parapsilosis TISTR5904 Kloeckera apiculata TISTR5090 and Candida krusei TISTR5905, showed the highest β-glucan content. The optimal condition in YM medium were 5% glucose w/v, 0.3% w/v of yeast extract and 0.5% w/v of peptone with 5% inoculums v/v, initial pH of 5.0, 200 rpm shaking and 30oC. At 24th hours, the yeast strain Debaryomyces hansenii TISTR5155 and Candida parapsilosis TISTR5904 exhibited the highest β-glucan content of 1.06 and 1.65 g/L, respectively. β-glucan content of both strains were of 1.24 and 3.19 g/L when cultivated batchwise in a fermenter. The new isolated strains with high potential for β-glucan production, Candida parapsilosis TISTR5904 and Candida krusei TISTR5905 were deposited at Bangkok-MIRCEN, TISTR.en
dc.format.extent1569744 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.84-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยีสต์en
dc.subjectกลูแคนen
dc.subjectบีตากลูแคนen
dc.titleการคัดกรองยีสต์ที่ผลิตบีตากลูแคนและภาวะเหมาะสมในการผลิตบีตากลูแคนen
dc.title.alternativeScreening of β-Glucan producing yeast and optimization for β-Glucan productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorvullapa@tistr.or.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.84-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitchanan_ch.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.