Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเรียง เมฆเกรียงไกร-
dc.contributor.authorมยุรี ชีพพานิชไพศาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-02-28T10:54:44Z-
dc.date.available2013-02-28T10:54:44Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746320939-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29174-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractเพื่อแก้ไขปัญหากรจราจรและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในสังคม รัฐบาลจึงกำหนดนโยบายสนับสนุนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมของรัฐ จากการศึกษา ผู้เขียนพบว่าแม้รัฐจะสนับสนุนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการดังกล่าวโดยรัฐให้หลักประกันไม่ทำการโอนกิจการและทรัพย์สินของผู้ลงทุนมาเป็นของรัฐ และกำหนดให้ความคุ้มครองตลอดจนการรักษาสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ไม่ว่า ด้านอายุสัมปทานหรือระยะเวลาได้สิทธิตามสัญญา และด้านการคุ้มครองการกำหนดราคาค่าบริการตามสัญญา ตลอดจนการกำหนดค่าชดเชยแทนการให้เงินสนับสนุนก็ตาม แต่ปรากฏว่า การสนับสนุนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการดังกล่าวที่ผ่านมายังไม่บรรลุผลตามนโยบายของรัฐ เนื่องจากเอกชนผู้ลงทุนในกิจการโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมของรัฐประสบปัญหาและอุปสรรคหลายประการ นอกจากนโยบายของรัฐไม่มีความแน่นอนชัดเจนและขาดความต่อเนื่องแล้ว การริเริ่มโครงการเพื่อการก่อสร้างพื้นฐานคมนาคมขนาดใหญ่ ซึ่งจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับประชาชน อันมีผลทั้งทางบวกแลทางลบ ในการริเริ่มโครงการเหล่านี้ ในระยะเริ่มแรก ประชาชนมักจะไม่มีโอกาสหรือมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์) เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ครบถ้วนถูกต้อง เพื่อมาประกอบการตัดสินใจในการดำเนินการโครงการดังกล่าว วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะให้รัฐกำหนดนโยบายของรัฐที่ชัดเจนแน่นอนเพื่อสามารถแก้ไขปัญหาระยะยาวได้ นอกจากนี้รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ให้ประชาชนรับรู้และสามารถเข้าใจได้ในระดับประชาพิจารณ์ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและความเข้าใจ อันจะเป็นการลดความขัดแย้งในความเห็นต่าง ๆ และทำให้เอกชนผู้ลงทุนเกิดความมั่นใจในการลงทุนในกิจการดังกล่าว-
dc.description.abstractalternativeIn order to solve the ever-worsening traffic problems and improve the way of life of citizens in society, the Government has formulated a policy supporting private sector joint or operation of the State’s transportation infrastructure projects. The study reveals that in spite of the Government’s support of private sector joint or operation of these project, either by providing guarantees that investors’ properties will not be transferred to the State, determination of coverage and protection of various privileges, whether with regard to the duration of concessions or duration of privileges according to contracts; protection for determination of service fees according to contracts and including compensation in lieu of supports; has not achieved the level of success targeted by Government. This is due to the myriad problems and obstacles encountered by private investors in the State’s transportation infrastructure projects. Apart from the lack of certainty, clarity and continuity of the Government’s policy, the initiation of projects to construct large-scale transportation infrastructure invariably affects the population, both positively and negatively. During the preliminary phases, the general public usually has little opportunity, or involvement, in expressing their opinions and debating the benefits and drawbacks that enable a complete review of information necessary for decision making in operating the projects. In this thesis, it is recommended that the Government outline decisive policies to overcome problems in the long term. Furthermore, the Government should ensure that information is made available to the public, and is understood by public. This will create understanding and transparency that will effectively reduce conflict steaming from differences of opinion, and ultimately encourage private investor confidence.-
dc.format.extent3511006 bytes-
dc.format.extent2297868 bytes-
dc.format.extent10607914 bytes-
dc.format.extent13720251 bytes-
dc.format.extent18446997 bytes-
dc.format.extent3389380 bytes-
dc.format.extent2480833 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการร่วมลงทุน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
dc.subjectโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ -- นโยบายของรัฐ-
dc.subjectคมนาคม -- นโยบายของรัฐ-
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการที่เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมของรัฐen
dc.title.alternativeLegal measures for private to join or operate in transportation infrastructureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mayuree_che_front.pdf3.43 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_ch1.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_ch2.pdf10.36 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_ch3.pdf13.4 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_ch4.pdf18.01 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_ch5.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_che_back.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.