Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29941
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระพร อุวรรณโณ
dc.contributor.authorอรอนงค์ พิณธุรักษ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-18T02:49:39Z
dc.date.available2013-03-18T02:49:39Z
dc.date.issued2538
dc.identifier.isbn9746330489
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29941
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเจตคติในการประเมินสินค้าของกลุ่มตัวอย่างระหว่างกลุ่มที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ และได้รับสารจากโฆษณาที่มีตัวแปรแหล่งและคุณภาพของข้อโต้แย้งต่างกัน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 128 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่มีกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ อย่างละ 64 คน เข้าเงื่อนไขการทดลองเท่ากัน 1 ใน 4 เงื่อนไข คือ นางแบบดึงดูดกับข้อ โต้แย้งที่มีน้ำหนัก นางแบบดึงดูดกับข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก นางแบบผู้เชี่ยวชาญกับข้อโต้แย้งที่มีน้ำหนัก และนางแบบผู้เชี่ยวชาญกับข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ มาตรวัดการกำกับการแสดงออกของตนที่ นิตยา รัตนพิชิต (2533) พัฒนาตามแนวทฤษฏีการกำกับการแสดงออกของตนของ Mark Snyder (1987) ภาพโฆษณาสินค้าที่มีตัวแปรแหล่ง และข้อโต้แย้งต่างกัน จำนวน 8 ภาพ และมาตรวัดการประเมินสินค้า ซึ่งเป็นมาตรจำแนกความหมาย ผลการวิจัยพบตามที่ทำนายว่า 1. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะดึงดูด และมีข้อโต้แย้งที่มีน้ำหนัก ประเมินสินค้าไปทางบวกมากกว่าผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะดึงดูด และมีข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) 2. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีข้อโต้แย้งที่มีน้ำหนัก ประเมินสินค้าไม่แตกต่างจากผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะเป็นผู้เชี่ยวชาญ และมีข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก 3. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีข้อโต้แย้งที่มีน้ำหนัก ประเมินสินค้าไปทางบวกมากกว่าผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะเป็นผู้เชี่ยวชาญ และมีข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.01) 4. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะดึงดูด และมีข้อโต้แย้งที่มีน้ำหนัก ประเมินสินค้าไม่แตกต่างจากผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนต่ำที่ได้ดูภาพโฆษณาที่มีนางแบบที่มีลักษณะดึงดูด และมีข้อโต้แย้งที่ไม่มีน้ำหนัก
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to compare attitude score on product evaluation between high and low self –monitoring persons (HSM, LSM) who received messages from different source variable and argument quality in advertisement. One hundred and twenty – eight students from Chulalongkorn University, sixty – four HSM and sixty – four LSM students, were randomly assigned equally to each of four conditions: attractive model and strong argument, attractive model and weak argument, expert model and strong argument, and expert model and weak argument. The instruments were: a) self –monitoring scale developed by Nittaya Rattanapichit (1990), based on Mark Snyder’s theory (1987) b) eight advertisements with different source variable and argument quality and c) semantic differential product evaluation scale. The results show, as predicted, that: 1. HSM persons who received strong argument from attractive model evaluate the product significantly more positive than HSM persons who received weak argument from attractive model (p<.01). 2. HSM persons who received strong argument from expert model do not evaluate the product differently from HSM persons who received weak argument from expert model.3. LSM persons who received strong argument from expert model evaluate the product significantly more positive than LSM persons who received weak argument from expert model (p<.01). 4. LSM persons who received strong argument from attractive model do not evaluate the product differently from LSM persons who received weak argument from attractive model.
dc.format.extent4601626 bytes
dc.format.extent23724869 bytes
dc.format.extent13045163 bytes
dc.format.extent4637365 bytes
dc.format.extent3212692 bytes
dc.format.extent2230962 bytes
dc.format.extent21139989 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอิทธิพลของการกำกับการแสดงออกของตน ตัวแปรแหล่งและคุณภาพของข้อโต้แย้งที่มีต่อการประเมินสินค้าen
dc.title.alternativeThe influence of self-monitoring, source variable, and argument quality on product evaluationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Onanong_ph_front.pdf4.49 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_ch1.pdf23.17 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_ch2.pdf12.74 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_ch3.pdf4.53 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_ch4.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_ch5.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open
Onanong_ph_back.pdf20.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.