Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพุทธกาล รัชธร-
dc.contributor.authorไกรสิทธิ์ ชะลุยรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-04-27T09:01:06Z-
dc.date.available2013-04-27T09:01:06Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงศักยภาพและโอกาสของจังหวัดอุดรธานีที่จะเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาคอีสานตอนเหนือ การศึกษาหาข้อมูลเพื่อหาศักยภาพและโอกาสของจังหวัดอุดรธานีในครั้งนี้ได้ศึกษาเปรียบเทียบศักยาภาพด้านที่เกี่ยวข้องเช่นหาปริมาณการขนส่งสินค้าผ่านทางรถบรรทุก, รถไฟและทางเครื่องบิน ปริมาณผู้โดยสารที่เข้าออกจังหวัดอุดรธานีและขอนแก่นโดยรถโดยสารประจำทางระหว่างประเทศและทางเครื่องบิน ศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดของจังหวัดอุดรธานี และจังหวัดขอนแก่นโดยดูจากกลยุทธ์การพัฒนาจังหวัดสู่การเป็นศูนย์กลางการคมนาคม ขนส่ง รวมทั้งศึกษาเส้นทางการเชื่อมต่อของจังหวัดใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นทางการขนส่งไปฮานอยและดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามโดยใช้เส้นทางผ่านสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเพื่อวิเคราะห์ศักยภาพของจังหวัด(Potential)ด้วยการเปรียบเทียบ ภูมิรัฐศาสตร์ที่ตั้งของจังหวัดอุดรธานี ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด(GPP) สินค้านำเข้าและส่งออกจากจังหวัด และเส้นทางการคมนาคมขนส่งสินค้าและคนของจังหวัดอุดรธานีและขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า จังหวัดอุดรธานีมีการพัฒนาการโครงสร้างพื้นฐานที่จะพัฒนาตัวเองไปสู่การเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนไปอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้จาก ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด(GPP) และรายได้เฉลี่ยต่อหัวที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง รวมถึงการที่มีสนามบินเป็นอินเตอร์เนชั่นแนล แอร์พอร์ท ที่มีเที่ยวบินระหว่างประเทศบินมาลงที่สนามบิน เที่ยวบินภายในประเทศมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของจังหวัด ปริมาณการส่งสินค้าและคนผ่านทางอากาสก็มีตามการเพิ่มขึ้นของเที่ยวบิน พร้อมกันนี้จากโอกาสที่การขนส่งระหว่างประเทศจะขยายตัวตามเส้นทางหมายเลข 8 และถ้าสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 เสร็จ การขนส่งตามเส้นทางที่เชื่อต่อกับประเทศเพื่อนบ้านตามเส้นทางหมายเลข 8 โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศลาวก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดอุดรธานีก็ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลที่สนับสนุนพัฒนาจังหวัดอุดรธานีให้เป็นศูนย์กลางการค้าและบริการของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมเพื่อการบริโภค อุปโภค และเพื่อผลิตสินค้าเชื่อมโยงไปสู่กลุ่มประเทศอินโดจีนen
dc.description.abstractalternativeThis thesis has intention on potential and opportunity of Udornthani province to become Logistics Hub of North-Eastern Thailand. By research and comparative value and volume of transportation of goods by truck, railway and airplane included passengers that in and out Udornthani and Khuankaen by public bus and airplane. Analysis Gross provincial product (GPP) of each province base on of province strategy. Included analysis the route of transportation from Udornthani and Khuankaen to Hanoi and Danang by passing Lao PDR. In order to comparative the potential between Udornthani and Khuankaen that whose has more than able to become Logistics Hub of upper North-Eastern Thailand The result of the analysis discover that Udornthani Province has been developing of infrastructures and has a lot of potential that will be improved Udornthani province to become transportation center and will be developing to Logistics Hub of North-East of Thailand. Approve and support the reason by Gross Provincial Product (GPP) of Udornthani province and average Income of population has continues increase every year, moreover Udornthani province have a lot of airline direct to, everyday and also international transportation are increase on the roadenumber 8 and if the 3rd Thai – Lao friendship bridge are complete transportation between border from neighbor country, Lao P.D.R. particularly will be increasing are significantly. Also the strategics development of province has supported by the government to make Udornthani to become Logistics Hub of North-Eastern Thailand and Indochina.en
dc.format.extent2811449 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.895-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการขนส่ง -- ไทย -- อุดรธานีen
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์ -- ไทย -- อุดรธานีen
dc.subjectอุดรธานี -- ภาวะสังคมen
dc.subjectอุดรธานี -- ภาวะเศรษฐกิจen
dc.titleอุดรธานี: ศักยภาพและโอกาสในการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภาค อิสานตอนเหนือen
dc.title.alternativeUdornthani: potential and opportunity to become logistics hub of upper North-Eastern Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBuddhagarn.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.895-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kraisit_Ch.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.