Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30954
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อัญชริดา สวารชร | - |
dc.contributor.author | นภา โล่ห์ทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-16T04:08:28Z | - |
dc.date.available | 2013-05-16T04:08:28Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30954 | - |
dc.description.abstract | จากการศึกษาการผลิตเอนไซม์โวลาเนสด้วยเชื้อ Aspergillus รหัส 4-45-1F ซึ่งเป็นเชื้อที่ได้คัดเลือกแล้วว่ามีประสิทธิภาพในการผลิตเอนไซม์นี้สูง โดยใช้ฟางข้าว ซังข้าวโพด แกลบ เปลือกถั่ว ชานอ้อย และรำข้าว เป็นอาหารเลื้ยงเชื้อ พบว่าวัตถุดิบนี้ให้ผลดีที่สุดคือ ฟางข้าว โดยที่เชื้อจะสร้างเอนไซม์มีประสิทธิภาพสูงที่สุดเมื่อบดฟางข้าวให้เล็กขนาด 5 เมช เติม NH₄NO₃. 0.8% ปรับให้วัสดุ มักมีความชื้น 82% และ pH เริ่ม้น 4.5 บ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 40 ช เป็นเวลา 6 วัน โดยใช้เชื้อเริ่ต้นประมาณ 1.2x10⁵ สปอร์/กรัม เชื่อเริ่มต้นซึ่งได้จากการเลี้ยงในอาหารซึ่งมีไซแลนบริสุทธิ์เป็นแหล่งคาร์บอน หรือที่เลี้ยงบน Czapek's agar สามารถเจริญและสร้างเอนไซม์โซลาเนสได้ดีพอ ๆ กัน ในฟางข้าวนอกจากเอนไซม์โซลาเนส แล้ว Aspergillus รหัส 4-45-1F จะผลิตเอนไซม์เซลลูเลสควบคู่กันไปด้วย crude enzyme ที่ผลิตได้จะสามารถย่อยสลายชานอ้อยไปเป็นน้ำตาลรีดิวซ์ได้ประมาณ 0.25 กรัม/กรัม ซึ่งให้ผลดีกว่าเมื่อใช้ฟางข้าว ซึ่งข้าวโพด กลบหรือเลือกถั่วเป็นสัปสเตรท | - |
dc.description.abstractalternative | Comparative studies on using rice straw, bagasse, rice husk, rice bran, corn cob or penut hull as substrate for enzyme production, indicated that Aspergillus No.4-45-1F produced highest xylanase activity on rice straw. Maximum enzyme activity was obtained when 1.2x10⁵ spores/gm was grown at 40 celcius degree for 6 days on substrate containing 5 mesh size straw, supplemented with 0.8% NH₄NO₃ at 82% initial moisture. The optimal initial pH was found to be 4.5 Spore inoculum obtained either from culture grown on xylan agar medium or Czapek's agar medium, gave no effect on enzyme production. In addition to xylanase, substantial amount of cellulase was also detected on rice straw medium. Hydrolysis of various cellulosic wastes : rice straw, bagasse, rice husk, corn cob and penut hull by the crude enzyme showed that highest amount of reducing sugar (0.26 gm/gm) was obtained when cane bagasse was used as substrate. | - |
dc.description.sponsorship | ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.format.extent | 6727963 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ไซแลนเนส | en |
dc.subject | เชื้อรา | en |
dc.subject | การหมักแบบแห้ง | en |
dc.subject | แอสเพอร์จิลลัส | en |
dc.title | การผลิตเอนไซม์ Xylanase จากเชื้อราโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งของเกษตรกรรมในขบวนการหมัก แบบแห้ง : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Production of fungal xylanase from agricultural waste by solid state fermentation | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ancharida_sa_2526.pdf | 6.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.