Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์-
dc.contributor.authorผาณิต สุขโท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-14T08:03:50Z-
dc.date.available2013-06-14T08:03:50Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32172-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractที่มาการปลูกถ่ายไตเป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ทำให้ชีวิตยืนยาวดีกว่าการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีอื่น และการใช้ยากดภูมิคุ้มกันแก่ผู้ป่วยปลูกถ่ายไตเป็นหัวใจสำคัญโดยจุดมุ่งหมายการใช้ยากดภูมิคุ้มกันคือป้องกันและรักษาการเกิดภาวะ acute rejection อย่างไรก็ตามใช้ยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไตอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของการปลูกถ่ายไตทั้งระยะสั้นระยะยาวแตกต่างกัน และอาจให้ประสิทธิผลในการรักษาแตกต่างกัน ปัจจุบันไม่มียากดภูมิคุ้มกันแก่ผู้ป่วยปลูกถ่ายไตชนิดใดหรือสูตรใดที่มีคุณสมบัติในอุดมคติ ดังนั้นโดยรวมหลักการให้ยากดภูมิคุ้มกันแก่ผู้ป่วยแต่ละรายโดยพิจารณาเลือกใช้ยาแก่ผู้ป่วยเป็นรายๆตามเหตุและความจำเป็นมากกว่าการใช้ชนิดยาหรือสูตรยาตายตัว การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการรักษาผู้ป่วยปลูกถ่ายไตที่ใช้ยากดภูมิคุ้มกันแต่ละชนิดหรือแต่ละสูตรยาเพื่อพิจารณาความแตกต่างเกี่ยวกับ patient survival, graft survival, acute rejection, renal function ในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ วิธีการศึกษา ข้อมูลของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายและได้รับการปลูกถ่ายไตจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ทั้งหมดจำนวน 177 รายได้ถูกนำมาวิเคราะห์จากฐานข้อมูลหน่วยไตโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โดย แบ่งกลุ่มผู้ป่วยได้รับยา induction เปรียบเทียบกับไม่ได้รับยา induction,กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา cyclosporine เปรียบเทียบกับกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา tacrolimus ,กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา azathiopine เปรียบเทียบกับกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา myclophenolate mofetil, เปรียบเทียบกลุ่มผุ้ป่วยที่ได้รับยาสูตรแต่ละสูตรกล่าวคือผู้ป่วยที่ได้รับยา CsA + AZA, CsA+MMF, Tacrolimus+ AZA หรือ MMF, minimize CsA + sirolimus ผลการศึกษา เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานระหว่างผู้ป่วยที่ได้ยา induction มี cold ischemic time (681 + 542 นาที vs 504 + 469 นาที; p=0.02) และ expanded creteria donor(36% vs 9% ; p=0.01) มากกว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยา induction ผู้ป่วย,กลุ่มผุ้ป่วยที่ได้รับยา CsA ,Tacrolimus, AZA, MMF,และ sirolimus พบว่าไม่มีความแตกต่างของ acute rejection rate ระหว่างกลุ่มผู้ป่วยที่ได้ cyclosporine และกลุ่มผู้ป่วยที่ได้ tacrolimus ( 6.1 % vs 13.3 %; p=0.6) และไม่พบความแตกต่างของ การทำงานของไตวัดโดย eGFR, serum creatinine และ allograft survival ที่ปีที่1, 3 และ 5 หลังการปลูกถ่ายไตเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มยา สรุปผลการศึกษา ประสิทธิผลของยากดภูมิคุมกันในแต่ละสูตรไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องการทำงานของไต และ graft survivalen
dc.description.abstractalternativeBackground:. Various Immunosuppressive regimens have been used in renal transplantation. There are no consensuses what regimen provide the most benefit to the renal transplant recipients. We performed this study to evaluate the renal outcome of different immunosuppressive protocols from our renal transplant database. Methods : Data of renal-transplant recipients who had renal allograft survival more than 1-year were retrieved from the database and analyzed for comparison of renal transplant outcome namely ; renal allograft function by estimated GFR MDRD, serum creatinine at 1th, 3rd, and 5th yrs post-transplantation, renal allograft survival rate and acute rejection. Results: Comparison of patients who receives on induction regiment (n=99) and non-induction regiment (n=88) showed no difference on estimate GFR by MDRD, graft survival and acute rejection rate at 1st ,3rd,5th year. However in induction group has cold ischemic time (681 + 542 mines vs 504 + 469 mines; p=0.02) and expanded criteria donor (35.4%vs 9%; p=0.01) more than non-induction group, on cyclosporine (n=162) compare with tacrolimus(n=15) ) there is no difference in estimate GFR by MDRD, graft survival and acute rejection rate at 1st ,3rd,5th year, The acute rejection rate at 12 th month post transplantation of cyclosporine based and tacrolimus based protocol were 6.1 %, 13.3 %, on azathiopine (n=108) compare with mycophenolate mofetil (n=58) there is no difference in estimate GFR by MDRD, graft survival and acute rejection rate at 1st ,3rd,5th year, on prednisone +cyclosporine+azathiopine (n=100) prednisone +cyclosporine+ mycophenolate mofetil (n=49), prednisone+ tacrolimus+azathiopine or mycophenolate mofetil (n=15), or prednisone+ minimize cyclosporine + sirolimus (n=13) estimate GFR by MDRD, graft survival and acute rejection rate at 1st ,3rd,5th year between difference immunosuppressive protocols. Respectively. There were no acute rejection in patients who received sirolimus based (cyclosporine minimization) protocol. Conclusion: There were no significant differences of renal allograft outcome of different immunosuppressive protocol in renal-transplant recipients.en
dc.format.extent1304021 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1942-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.subjectไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วยen
dc.subjectไต -- การปลูกถ่ายen
dc.subjectการรักษาด้วยยาen
dc.subjectไต -- โรค -- การรักษาen
dc.titleการศึกษาผลของการใช้ยากดภูมิคุ้มกันในการปลูกถ่ายเปลี่ยนไตในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์en
dc.title.alternativeOutcome of kidney transplantation with immunosuppressionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkearkiet@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1942-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phanit_So.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.