Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3350
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Orawon Chailapakul | - |
dc.contributor.advisor | Warinthorn Chavasiri | - |
dc.contributor.author | Teeraporn Timthong | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Science | - |
dc.date.accessioned | 2007-01-27T08:04:52Z | - |
dc.date.available | 2007-01-27T08:04:52Z | - |
dc.date.issued | 2003 | - |
dc.identifier.isbn | 9741747187 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3350 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003 | en |
dc.description.abstract | In this research, iron complexes were synthesized and exploited as catalyst in the oxidation of cyclohexane using a mixture of pyridine-acetronitrile as a solvent system. Hydrogen peroxide and tert-butylhydroperoxide as an oxidant at room temperature and 70 ํC. Cyclohexanone was selectively obtained as a major product and cyclohexanol as a minor product. The relationship between oxidation reaction utilizing catalytic and electrochemical properties of iron complexes using cyclic voltammetry was studied. Cyclic voltammetry was performed using glassy carbon as a working electrode, silver wire as a reference electrode and platinum wire as an auxillary electrode. It was found that iron complexes exhibiting reversible and quasireversible reactions gaving better catalytic activity and provided better yield than iron complexes displayed irreversible reactions. In addition, the results obtained from kinetic study of cyclohexane oxidation and those from cyclicvoltammetry were in good agreement. | en |
dc.description.abstractalternative | ในงานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนเหล็ก เพื่อใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาออกซิเดชันของไซโคลเฮกเซน โดยใช้ของผสมไพริดีนและแอซิโทไนไทร์ลเป็นระบบตัวทำละลาย ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และเทอร์เชียรีบิวทิลไฮโดรเปอร์ออกไซด์เป็นตัวออกซิแดนท์ที่อุณหภูมิห้องและ 70 องศาเซลเซียส พบว่าได้ไซโคลเฮกซาโนนเป็นผลิตภัณฑ์หลัก ไซโคลเฮกซานอลเป็นผลิตภัณฑ์รองศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติการเร่งปฏิกิริยา และสมบัติทางเคมีไฟฟ้าของสารประกอบเชิงซ้อนเหล็ก โดยใช้เทคนิคไซคลิกโวลแทมเมทรี ใช้กลาสซีคาร์บอนเป็นขั้วทำงาน ลวดเงินเป็นขั้วอ้างอิงและลวดแพลทินัมเป็นขั้วช่วย พบว่าสารประกอบเชิงซ้อนเหล็กส่วนใหญ่ที่เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์แบบผันกลับได้ และกึ่งผันกลับได้ จะแสดงสมบัติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่ดีกว่าสารประกอบเชิงซ้อนเหล็กที่เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์แบบผันกลับไม่ได้ เนื่องจากสารประกอบเชิงซ้อนเหล็กส่วนใหญ่ที่เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์แบบผันกลับได้และกึ่งผันกลับได้ จะให้ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่สูงกว่า นอกจากนี้ได้ศึกษาจลน์ศาสตร์ของปฏิกิริยาออกซิเดชันของไซโคลเฮกเซนเปรียบเทียบกับเทคนิคไซคลิกโวลแทมเมทรี พบว่าผลที่ได้สอดคล้องกัน | en |
dc.format.extent | 4720155 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | en |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Complex compounds | en |
dc.subject | Iron compounds | en |
dc.title | Catalytic and electrochemical properties of iron complexes | en |
dc.title.alternative | สมบัติการเร่งปฏิกิริยาและสมบัติทางเคมีไฟฟ้าของสารประกอบเชิงซ้อนเหล็ก | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | Master of Science | en |
dc.degree.level | Master's Degree | en |
dc.degree.discipline | Petrochemistry and Polymer Science | en |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Teeraporn.pdf | 2.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.