Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต-
dc.contributor.authorนิศากร ตัณลาพุฒ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-07T09:45:25Z-
dc.date.available2013-08-07T09:45:25Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746314564-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34179-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสารโฆษณายาแก้ปวดลดไข้ทางโทรทัศน์ การรับรู้และการจดจำสารโฆษณายาแก้ปวดลดไข้ และพฤติกรรมการซื้อและใช้ยาแก้ปวดลดไข้ของกลุ่มผู้ใช้แรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ผู้ใช้แรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่ออธิบายลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างใช้การหาค่าร้อยละ และเพื่ออธิบายการทดสอบสมมติฐาน ใช้การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การเปิดรับสารโฆษณาสินค้าประเภทยาแก้ปวดลดไข้ทางโทรทัศน์มากหรือน้อยจะไม่มีผลต่อการรับรู้ และจดจำสารโฆษณายาแก้ปวดลดไข้ กลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในเขตกรุงเทพมหานคร 2. การเปิดรับสารโฆษณาสินค้าประเภทยาแก้ปวดลดไข้ทางโทรทัศน์ มากหรือน้อยจะไม่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อและใช้ยาแก้ปวดลดไข้ ของกลุ่มผู้ใช้แรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร 3. ผู้ใช้แรงงานที่มีการรับรู้และจดจำสารโฆษณาสินค้าประเภทยาแก้ปวดลดไข้ทางโทรทัศน์มีแนวโน้มว่าจะเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการซื้อและใช้ยาแก้ปวดลดไข้ที่โฆษณานี้
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are to study the correlation between the exposure of drug advertising on television, perception and recognition of drug advertising and analgesic antipyretic drug buying and using behavior of labourer in Bangkok metropolis. Questionnaires were used to collect data from 250 labourer working in Bangkok metropolis area Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient was used to test the relationship between exposure to television drug advertisement and drug buying and using behavior. The results are as follows: 1. There is no correlation between the exposure of drug advertising on television and perception and recognition of the advertisement messages. 2. There is no correlation between the exposure of drug advertising on television and analgesic antipyretic drug buying and using behavior. 3. Perception and recognition of drug advertising was correlated with analgestic antipyretic drug buying and using behavior.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาพยนตร์โฆษณา
dc.subjectโฆษณาทางโทรทัศน์
dc.subjectการเปิดรับข่าวสาร
dc.subjectยาแก้ปวด -- โฆษณา
dc.titleการรับรู้ และการจดจำภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ และพฤติกรรมการซื้อและใช้ยาแก้ปวดลดไข้ ของกลุ่มผู้ใช้แรงงานในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePerception and recognition of drug advertising on television and analgesic antipyretic drug buying and using behavior of labour in Bangkok metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nisakorn_ta_front.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_ch1.pdf7.39 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_ch2.pdf29.21 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_ch3.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_ch4.pdf20.52 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_ch5.pdf10.22 MBAdobe PDFView/Open
Nisakorn_ta_back.pdf11.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.