Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.authorกิตติกานต์ กุแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-08T08:23:56Z-
dc.date.available2013-08-08T08:23:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34309-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาสารเคมีสำหรับยับยั้งการเจริญของราในน้ำยางข้นและบนยางแผ่นดิบ ทำการแยกราจากน้ำยางข้นและยางแผ่นดิบ พบราจากยางแผ่นดิบคือ Penicillium sp. 3 สายพันธุ์ และ Aspergillus sp. 5 สายพันธุ์ ทดสอบการยับยั้งการเจริญของราโดยสารเคมี 6 ชนิด คือ โซเดียมซอร์เบต, โซเดียมเปอร์บอเรต, โซเดียมดีไฮโดรอะซิเตต, เอทิลแอลกอฮอล์, สาร A และสาร B วัดประสิทธิภาพการยับยั้งราซึ่งคิดจากขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางบริเวณใส และต้นทุนราคาของสารเคมี คัดสารเคมีไว้ศึกษาต่อ 4 ชนิดคือ สาร A ความเข้มข้น 4.2% (โดยปริมาตร), สาร B ความเข้มข้น 100% (โดยมวลปริมาตร), โซเดียมดีไฮโดรอะซิเตต ความเข้มข้น 0.2% (โดยมวลต่อปริมาตร) และโซเดียมเปอร์บอเรต ความเข้มข้น 2% (โดยมวลต่อปริมาตร) ทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งราที่แยกจากตัวอย่างยางแผ่นดิบ โดยใช้สารเคมีแต่ละชนิดรวมทั้งสารผสมในอัตราส่วน 1:1 สาร A ความเข้มข้น 4.2% (โดยปริมาตร) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราได้ดีที่สุด นำสาร A ไปทดสอบการยับยั้งการเจริญของราบนยางแผ่นดิบ โดยแช่ตัวอย่างยางแผ่นดิบในสาร A ความเข้มข้น 4.2% (โดยปริมาตร) เป็นเวลา 20 นาทีใส่ราที่คัดแยกไว้แล้วบ่มยางแผ่นดิบเป็นเวลา 7 วัน ผลการยับยั้งคือ 100%en_US
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study to use chemicals for fungal growth inhibition on rubber air dried sheet. Three strains of Penicillium sp. and five strains of Aspergillus sp. were isolated from air dried sheet. Six chemicals (sodium sorbate, sodium perborate, sodium dehydroacetate, reagent A, ethyl alcohol and reagent B) were tested on isolated fungi. Evaluations were based on size of inhibition zone and the cost of chemicals. The promising chemicals, (4.2% (v/v) reagent A, 100% (v/v) reagent B, 0.2% (w/v) sodium dehydroacetate and 2% (w/v) sodium perborate) were tested further. The pure solution of the chosen chemicals as well as 1:1 mixture were tested on the isolated fungi. The best result was obtained from using 4.2% (v/v) resgent A. Testing on the rubber air dried sheet by immersing the sheets in the solution for 20 minutes then inoculated with fungi and incubated for 7 days. From this study, it was found that complete inhibition of all fungi was obtained by using 4.2% (v/v) reagent A.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.440-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเชื้อรา -- การควบคุมen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางพาราen_US
dc.subjectFungi -- Controlen_US
dc.subjectRubber industry and tradeen_US
dc.titleความเป็นไปได้ในการใช้สารเคมียับยั้งการเจริญของราบนยางแผ่นดิบen_US
dc.title.alternativeFeasibility of using chemicals for fungal growth inhibition on rubber air dried sheeten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.440-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kittikarn_ku.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.