Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.advisorเนาวนิตย์ สงคราม-
dc.contributor.authorดารรัตน์ ลี้เสริมสุขสิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-19T04:54:19Z-
dc.date.available2013-10-19T04:54:19Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36274-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการ เกี่ยวกับการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน, เพื่อสร้างรูปแบบ, ศึกษาผลการใช้ และนำเสนอรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างพลวัตการเรียนรู้สำหรับพนักงานธนาคารพาณิชย์ ขั้นตอนในการดำเนินการวิจัยมี 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1: ศึกษาสภาพ ปัญหาและความต้องการการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน ระยะที่ 2: สร้างรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้ จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน ระยะที่ 3: ทดลองใช้รูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน และระยะที่ 4 : นำเสนอรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน เพื่อเสริมสร้างพลวัตการเรียนรู้สำหรับพนักงานธนาคารพาณิชย์ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดพฤติกรรมการร่วมมือของกลุ่ม แบบวัดพฤติกรรมการสื่อสารของกลุ่ม แบบวัดพฤติกรรมพันธะสัญญาของกลุ่ม แบบประเมินผลงานนวัตกรรมการปฏิบัติงาน แบบบันทึกพฤติกรรมปฏิสัมพันธ์บนเครือข่าย และแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติกิจกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานธนาคารพาณิชย์ที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 12 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมตามแผนกำกับกิจกรรมการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสานรวม 35 วัน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วย t-test dependent จากผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างพลวัตการเรียนรู้สำหรับพนักงานธนาคารพาณิชย์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ 1) กลุ่ม/สมาชิกพนักงานธนาคาร 2) ปัญหาในงานธนาคาร 3) วัฒนธรรมองค์กรธนาคาร 4) เทคโนโลยีสารสนเทศ 5) ผู้เชี่ยวชาญ และ 6) ทีมการจัดการความรู้ 2. ขั้นตอนการเรียนรู้ของรูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน เพื่อเสริมสร้างพลวัตการเรียนรู้สำหรับพนักงานธนาคารพาณิชย์ มี 6 ขั้น คือ 1) ขั้นปฐมนิเทศและจัดตั้งกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ 2) ขั้นกำหนดปัญหาในงานแต่ละกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ3) ขั้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานธนาคาร 4) ขั้นการสร้างองค์ความรู้ในงานธนาคาร 5) ขั้นการปฏิบัติจริงในงานธนาคาร และ 6) ขั้นการวัดและการประเมินผล 3. ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมของกลุ่ม ทั้ง 3Cs ประกอบด้วยพฤติกรรมการร่วมมือของกลุ่ม พฤติกรรมการสื่อสารของกลุ่ม และพฤติกรรมพันธะสัญญาของกลุ่ม ผลคะแนนการประเมินตนเองด้านพฤติกรรม หลังการทำกิจกรรมการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสาน สูงกว่าก่อนทำกิจรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeto develop and propose a knowledge management model using blended action learning principles to enhance learning dynamics of commercial bank personnel. The research methodology was divided into 4 phases 1) study conditions, problems and needs concerning knowledge management using blended action learning, 2) develop a knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics of commercial bank personnel, 3) field test a model, 4) propose the knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics of commercial bank personnel. The instruments were group collaboration behavior questionnaire, learning communication behavior questionnaire, learning commitment behavior questionnaire, work innovation achievement evaluation form, network interaction behavior recording form, and post-activity review recording from. The samples were twelve purposively selected commercial bank employees divided into 3 groups of 4 each. They worked through the 35-day period according to the procedures designed and controlled by the knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics. Data was analyzed using mean, standard deviation and hypotheses tested by using t-test dependent. The results revealed the followings: 1.The knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics of commercial bank personnel has 6 elements, i.e. 1) group/members of bank employees, 2) work problems, 3) organization culture, 4) information technology, 5) experts, and 6) knowledge management team. 2.Learning steps of the knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics of commercial bank personnel has 6 steps, i.e. 1) orientation and community of practice (COP) forming, 2) determining of problems of each COP, 3) sharing of knowledge, 4) building of knowledge for bank work, 5) on the job implementation, and 6) evaluation. 3.Group behavior self evaluation analysis revealed that all 3 categories of group behavior (3C’s) - collaboration, communication, and commitment - showed higher scores after the working period using the knowledge management model using blended action learning at the level of significance of 0.05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1130-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้en_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานen_US
dc.subjectKnowledge managementen_US
dc.subjectBlended learningen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างพลวัตการเรียนรู้สำหรับพนักงานธนาคารพาณิชย์en_US
dc.title.alternativeDevelopment of a knowledge management model using blended action learning to enhance learning dynamics of commercial bank personnelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorOnjaree.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1130-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
dararat_le.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.