Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36385
Title: การปรับปรุงกระบวนการบรรจุและปิดผนึกปลายหลอดสำหรับหลอดบรรจุเครื่องสำอาง
Other Titles: Process improvement of filling and sealing for cosmetic tube
Authors: กฤษณ์ชัย สร้อยระย้า
Advisors: สมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Somkiat.Ta@Chula.ac.th
Subjects: อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง
การควบคุมกระบวนการผลิต
การควบคุมความสูญเปล่า
Cosmetics industry
Process control
Loss control
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปรับปรุงกระบวนการผลิตเครื่องสำอางบรรจุหลอด โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการผสมเครื่องสำอาง จนถึงกระบวนการบรรจุลงหลอด โดยการเข้าไปศึกษาสภาพปัจจุบันแล้วค้นหาองค์ประกอบที่สำคัญที่จะเกิดข้อบกพร่องขึ้น สำหรับการวิเคราะห์นี้มีการนำการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบด้านกระบวนการ (Process failure mode and effect analysis : PFMEA) เพื่อหาสาเหตุของข้อบกพร่อง โดยให้ผู้เชี่ยวชาญตามแผนกต่างๆ วิเคราะห์และประเมินเพื่อคำนวณค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำ (Risk priority number : RPN) เพื่อจัดอันดับความสำคัญ ในการคัดเลือกการปรับปรุงกระบวนการผลิต โดยในการวิจัยนี้จะเลือกการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่มีค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำมากกว่า18 ขึ้นไป โดยภายหลังจากการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยนำเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหกรรมมาใช้ พบว่าการวิจัยครั้งนี้สามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ดีขึ้น ดังนี้ 1. กระบวนการผสม พบของเสียก่อนการปรับปรุง 1.30% และหลังจากปรับปรุงลดลงเป็น 0.41% ซึ่งลดลงจากเดิม 68.75% 2. กระบวนการบรรจุ พบของเสียก่อนการปรับปรุง 1.40% และหลังจากปรับปรุงลดลงเป็น 0.42% ซึ่งลดลงจากเดิม 70.25% สรุปผลการวิจัยครั้งนี้สามารถที่จะลดของเสียได้ลดลง 69.65% หรือ 4,583,780 บาท
Other Abstract: To process improvement of cosmetic tube. Begin at mixing process until filling process. By searching for critical factor to failure, using process failure mode and effect analysis (PFMEA) to analysis process failure by specialists. Calculate the risk priority number (RPN) to rearrange the importance of choosing process. In the investigation was mainly concerned to improve processes that have the risk priority number more than 18. After process improvement by industrial engineer techniques can improve process as show below. 1. Mixing process has the percentage of defect before improvement 1.30% and after improvement 0.41%. The improvement can reduce defect 68.75% 2. Filling process has the percentage of defect before improvement 1.40% and after improvement 0.42%. The improvement can reduce defect 70.25% The summary of this research can reduce defect 69.65% or 4,583,780 baht.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36385
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.917
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.917
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kritchai_sr.pdf10.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.