Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเนาวนิตย์ สงคราม-
dc.contributor.authorวันวิสาข์ อิ่มคุ้ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-31T06:45:44Z-
dc.date.available2013-10-31T06:45:44Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36483-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับสำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 3) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 และ 4) เพื่อนำเสนอรูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1. ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษานอกสถานที่เสมือน ด้านสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ด้านความคิดสร้างสรรค์ จำนวน 9 ท่าน และผู้เรียนกลุ่มทดลองคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนวัดแสนตุ้ง จังหวัดตราด จำนวน 30 คน และผู้เรียนกลุ่มควบคุม คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดพนมพริก จังหวัดตราด จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ แบบวัดความพึงพอใจของผู้เรียน และ บทเรียนการศึกษานอกสถานที่เสมือนฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้ค่าสถิติทดสอบค่า (T-test) ผลการวิจัย 1.รูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ฯ ที่พัฒนาขึ้น มีองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ 1) วัตถุประสงค์ 2) เนื้อหา 3) กิจกรรม 4) ผลป้อนกลับ 5) การประเมิน มีขั้นตอน 5 ขั้น คือ 1) เตรียมสร้างความรู้ 2) รวบรวมความรู้ 3) แลกเปลี่ยนต่อยอดความคิด 4) สร้างผลงาน 5) นำเสนอผลงาน 2.ผลจากการศึกษารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ ฯ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมพบว่ากลุ่มทดลองมีระดับความคิดสร้างสรรค์ที่สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to : 1) To study opinion of the expert about the development of activity based virtual field trip for creative thinking 2) To improve the development of activity based virtual field trip for creative thinking 3) To study the result of using the development of activity based virtual field trip for creative thinking 4) To present the development of activity based virtual field trip for creative thinking of grade six students in social studies religious and culture subject group. The subjects consisted of nine specialist in virtual field trip, social studies religious and culture and creative thinking and for the experimental group, 30 students in grade six, Saentung school. For control group, 30 students in grade six, Watphanompig school. Instruments in this research consisted of creative test, Specialist interview form, attitude questionnaire, website of activity based virtual field trip for creative thinking. The data were analyzed by average, standard deviation, and t-test. The results of this study revealed that: 1) The specialists of activity based virtual field trip for creative thinking consisted of five element and five steps. Elements 1) objective 2) content 3) activity 4) feedback 5) evaluation and five steps 1) prepare knowledge 2) compile knowledge 3) brainstorm 4) create 5) present 2)T-test comparison of posttest scores and pretest scores of the experimental group have higher statistical significant difference .05 level of creative abilities from the control group.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1501-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectWeb-based instructionen_US
dc.subjectCreative thinkingen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการศึกษานอกสถานที่เสมือนด้วยฐานกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2en_US
dc.title.alternativeThe development of activity based virtual field trip for creative thinking of the second key stage studenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNoawanit.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1501-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wanwisa_em.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.