Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอก ตั้งทรัพย์วัฒนา-
dc.contributor.authorชนิกานต์ ธนูพิทักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-11-21T06:48:57Z-
dc.date.available2013-11-21T06:48:57Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36702-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับในอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋อง โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บริษัทผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องส่งออก โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ การสำรวจแบบสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก การจัดทำการประชุมกลุ่มย่อย และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษานี้แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ควบคุมได้โดยตรง (Direct control) ส่วนที่ควบคุมได้ทางอ้อม (Indirect control) และส่วนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable) โดยส่วนที่ควบคุมได้โดยตรง เช่น บริษัทผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ไม่มีการจ้างเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่มีการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับ และไม่ใช้แรงงานต่างด้าวที่ผิดกฎหมาย โดยทุกบริษัทมีการดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ในกระบวนการหลักของการทำธุรกิจที่หากำไรอย่างมีความรับผิดชอบในกระบวนการผลิต (CSR in-process) ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ อย่างไรก็ตาม พบว่าขนาดของบริษัทมีผลต่อการขอรับรองมาตรฐานโดยเฉพาะบริษัทขนาดเล็ก ส่วนที่ควบคุมได้ทางอ้อม คือ ล้ง และแรงงานขนถ่ายปลาทูน่า บริษัทผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องจะไม่รับซื้อวัตถุดิบทูน่า หรือใช้บริการที่มีการใช้แรงงานผิดกฎหมาย ส่วนที่ควบคุมไม่ได้ คือ อุตสาหกรรมกุ้งที่มีปัญหาแล้ว และอยู่นอกเหนือห่วงโซ่อุปทานทูน่า โดยทั้ง 3 ส่วนมีผลต่อการจัดระดับ Tier ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมทูน่าของไทยได้ จึงต้องมีความร่วมมือกับหลายหน่วยงานในการแก้ไขปัญหาแรงงานอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐจะต้องผลักดันนโยบายในการดำเนินการแก้ไขปัญหา รวมถึงการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง เพื่อที่สหรัฐอเมริกาจะได้พิจารณาปรับระดับ Tier ของประเทศไทยให้อยู่ในระดับที่ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study implementation of labor laws involved with solution of child and forced labor in the context of canned tuna industry in Thailand and in the context of United States’ Tier Placement. Canned tuna manufactures are samples of this research. Tool used in the research are questionnaire, in-depth interview, focus group, and non-participatory observation. The analysis in this research is divided into 3 categories, that are, direct control, indirect control and uncontrollable. Direct control refers to direct management under companies. For instance, canned tuna manufacturers have compliances of labor practices. There are no employments of children less than 15 years, no forced labor, and no illegal workers. Also, the manufacturers have implemented social responsibility in the process of doing business. However size of the company affects the certification standards, especially small companies will have more problems. In this direct management, canned tuna industry performs very well. In indirect control, such as primary processor and Stevedore, the manufacturers can indirectly control the supply chain by not buying the tuna raw from sellers or services, using illegal labor. In uncontrollability, shrimp industry, which is outside the tuna supply chain, is still the problem, though it makes impact to the Tier Placements standard. These three factors will affect the rating of Tier Placements of the United States and Thai tuna industry. It requires collaboration with multiple agencies to resolve the problem mentioned above. In resolving these problems, the private sector and public sector must push the policy implementation and law enforcement seriously so as to create a better position of the United States’ Tier Placement to Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1558-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแรงงานเด็กen_US
dc.subjectเด็ก -- การจ้างงานen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋องen_US
dc.subjectการจ้างงานในต่างประเทศen_US
dc.subjectแรงงานต่างด้าวen_US
dc.subjectกฎหมายแรงงานen_US
dc.subjectChild laboren_US
dc.subjectChildren -- Employmenten_US
dc.subjectTuna canning industryen_US
dc.subjectForeign workersen_US
dc.subjectLabor laws and legislationen_US
dc.subjectEmployment in foreign countriesen_US
dc.titleการปฏิบัติตามแนวทางในการป้องกันปัญหาการใช้แรงงานเด็กและแรงงานบังคับของประเทศไทยเพื่อการส่งออกสินค้าไปสหรัฐอเมริกา: กรณีศึกษาอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋องen_US
dc.title.alternativeImplementation based on the guidelines for child and forced labor prevention in Thailand to support the export to The United States: a case study of canned tuna industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารกิจการทางทะเลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAke.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1558-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chanikan_th.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.