Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล ว่องวาณิช-
dc.contributor.advisorอวยพร เรืองตระกูล-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย บาลศิริ, 2516--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-16T09:50:50Z-
dc.date.available2007-08-16T09:50:50Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741313233-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3824-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractเปรียบเทียบผลของการให้ข้อมูลกลับคืนในเทคนิคเดลฟาย ระหว่างการให้ข้อมูลกลับคืน ด้วยค่าสถิติที่แตกต่างกัน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลของการให้ข้อมูลกลับคืนจะศึกษาในด้านการเปลี่ยนแปลงคำตอบ ความเร็วในการได้รับฉันทามติ และการตอบที่สอดคล้องกับสภาพจริง แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับปัจจัยและกระบวนการพัฒนาตนเองของครู สู่การเป็นครูที่มีคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นครูต้นแบบที่ได้รับการคัดเลือก โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2541 และ 2542 จำนวน 121 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การเปลี่ยนแปลงคำตอบพิจารณาจากค่าร้อยละ ของจำนวนผู้เชี่ยวชาญที่เปลี่ยนแปลงคำตอบ เมื่อเทียบกับรอบที่ผ่านมา ความเร็วในการได้รับฉันทามติพิจารณาจาก สัดส่วนของจำนวนข้อความที่ได้รับฉันทามติ และจำนวนรอบในการเก็บรวบรวมข้อมูล การตอบที่สอดคล้องกับสภาพจริงพิจารณาจาก ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นของกลุ่มทดลอง และความคิดเห็นของประชากรผู้เชี่ยวชาญที่เป็นครูต้นแบบ ผลการวิจัยได้ข้อสรุปว่าการให้ข้อมูลกลับคืน ด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่งผลให้ผู้เชี่ยวชาญตอบสอดคล้องกับสภาพจริงมากที่สุด และได้รับฉันทามติเร็วที่สุด นอกจากนี้ยังส่งผลให้ผู้เชี่ยวชาญเปลี่ยนแปลงคำตอบน้อยที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo compare the feedback effect in delphi technique among feedbacks with different statistics. Three types of statistical feedback were percentage, median and interquartile range, and mean and standard deviation. The effects of feedback in this research were studied on (1) response change, (2) time spent in reaching consensus, and (3) quality of responses which were congruent with those of the population. This research studied in content of factors and processes to self-development of the master teachers. One hundred and twenty-one experts in master teachers, who were selected by the Office of the National Education Commission in the years 1998 and 1999, were randomly assigned into 12 groups according to types of statistical feedback. The questionnaires were sent to the subjects by mail. The results of this study were as follows: In summary, feedback with mean and standard deviation is the most effective when compared to the others. The responses of the group obtaining mean/standard deviation feedback were mostly congruent with those of population. In addition, the time spent in reaching consensus was less than the othersen
dc.format.extent60833379 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.416-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเทคนิคเดลฟายen
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการให้ข้อมูลกลับคืนในเทคนิคเดลฟาย ระหว่างการให้ข้อมูลกลับคืนด้วยค่าสถิติที่แตกต่างกันen
dc.title.alternativeA comparison of feedback effects in delphi technique among feedbacks with different statisticsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwimon.W@chula.ac.th-
dc.email.advisorAuyporn.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.416-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sakchai.pdf24.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.