Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38341
Title: Genetic relationships between two honey bees (Apis mellifera linnaeus, 1758 and Apis cerana fabricius, 1753) and varroa mites in Thailand
Other Titles: ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างผึ้ง 2 ชนิด (Apis mellifera LINNAEUS, 1758 และ Apis cerana FABRICIUS, 1753) กับไรวาร์รัว ในประเทศไทย
Authors: Tipwan Suppasat
Advisors: Siriwat Wongsiri
Smith, Deborah R.
Sureerat Deowanish
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: siriwat.w@chula.ac.th
No information provided
Sureerat.D@Chula.ac.th
Sureerat.D@Chula.ac.th
Subjects: Bees -- Genetics -- Thailand
Apis cerana -- Genetics -- Thailand
Evolutionary genetics -- Thailand
ผึ้ง -- พันธุศาสตร์ -- ไทย
ผึ้งโพรง -- พันธุศาสตร์ -- ไทย
พันธุศาสตร์เชิงวิวัฒนาการ -- ไทย
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To determine the matrilineal origin of Thai Apis mellifera, mtDNA haplotypes of 476 colonies in North, Central, Northeast and South Thailand were determined by RFLPs and DNA sequencing. Three haplotype groups were found: ThaiA1 (22%) matched A. m. ligustica, ThaiA2 (60%) matched A. m. carnica (both C lineage), ThaiB (18%) matched O lineage; O lineage was rare in North and Central populations. Two mtDNA lineages of A. cerana occur in Thailand: Mainland Asia and Sundaland, meeting at Kra ecotone. Investigation of population structure of 184 samples from 6 populations (North, Central, Northeast, Prachuap Khiri Khan, Chumporn, Peninsular), using AFLPs, TE-AFLPs and AMOVA revealed little differentiation among populations. Three mtDNA lineages of Varrroa destructor were found on A. mellifera colonies: Korea (n=38), Japan (n=3) and Vietnam (n=1); the Vietnam haplotype was found on A. cerana in mountainous regions north of 18 °N latitude. V. jacobsoni occurred only in A. cerana colonies: Malaysia haplotype on Sundaland A. cerana lineage, NorthThai haplotype on Mainland Asia lineage
Other Abstract: การตรวจสอบต้นกำเนิดทางพันธุกรรมจากแม่โดยอาศัยรูปแบบทางพันธุกรรมในไมโทคอนเดรียลดีเอ็นเอของผึ้งพันธุ์จำนวน 476 รัง ในภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ของประเทศไทย ด้วยวิธีอาร์เอฟแอลพี และการหาลำดับนิวคลีโอไทด์ พบความแตกต่างของสามกลุ่มรูปแบบทางพันธุกรรมได้แก่ กลุ่ม ThaiA1 (22%) ตรงกับผึ้งพันธุ์สายพันธุ์ A. m. ligustica กลุ่ม ThaiA2 (60%) ตรงกับผึ้งพันธุ์สายพันธุ์ A. m. carnica ซึ่งจัดอยู่ในสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการแบบ C ทั้งสองกลุ่ม และกลุ่ม ThaiB (18%) จัดอยู่ในสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการแบบ O ซึ่งพบน้อยในประชากรผึ้งพันธุ์ของภาคเหนือและภาคกลาง สองสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของไมโทคอนเดรียลดีเอ็นเอในผึ้งโพรงไทยคือ เมนแลนด์เอเชีย และซุนดาแลนด์เชื่อมต่อกันที่บริเวณคอคอดกระ การศึกษาโครงสร้างประชากรของผึ้งโพรงไทย 184 ตัวอย่าง จาก 6 ประชากร (เหนือ กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร และเพนนิสุลา) ด้วยวิธีเอเอฟแอลพี และทีอี เอเอฟแอลพี และการวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุกรรมพบความแตกต่างระหว่างประชากรเล็กน้อย สามรูปแบบของสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการในไมโทคอนเดรียลดีเอ็นเอของไรวาร์ รัวในรังผึ้งพันธุ์ ได้แก่ Varroa destructor สายพันธุ์เกาหลี 38 ตัวอย่าง สายพันธุ์ญี่ปุ่น 3 ตัวอย่าง และสายพันธุ์เวียดนาม 1 ตัวอย่าง ซึ่งไรวาร์รัวสายพันธุ์เวียดนามนี้พบในรังผึ้งโพรงไทยแถบเทือกเขาสูงที่ ละติจูด 18 องศาเหนือขึ้นไป ไรวาร์รัวชนิด V. jacobsoni เข้าทำลายเฉพาะรังผึ้งโพรง โดยไรวาร์รัวสายพันธุ์มาเลเซียพบในรังผึ้งโพรงสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ แบบซุนดาแลนด์ และสายพันธุ์นอร์ทไทยพบในรังผึ้งโพรงสายความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการแบบเมนแลนด์เอเชีย
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Biological Sciences
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38341
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1643
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.1643
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tipwan_su.pdf2.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.