Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38964
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สังศิต พิริยะรังสรรค์ | - |
dc.contributor.author | รัตพงษ์ สอนสุภาพ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2014-02-19T03:19:27Z | - |
dc.date.available | 2014-02-19T03:19:27Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746352806 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38964 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษาบทบาทและพฤติกรรมการแสวงหาผลประโยชน์ของทุนขุนนางไทยในช่วง พ.ศ.2500-2516 โดยการใช้วิธีวิจัยเอกสารและดำเนินการวิเคราะห์ทางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า ทุนขุนนางไทยในช่วงที่ศึกษานี้ มีผู้นำทางการเมือง ผู้นำทางการทหาร และ ข้าราชการระดับสูงใช้อิทธิพลจากตำแหน่งหน้าที่การงานของตน รวมทั้งยังใช้กลไกของรัฐเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง การศึกษายังพบว่า แบบแผนการแสวงหาผลประโยชน์ของทุนขุนนางมิได้เปลี่ยนแปลงแต่อย่างใดยังคงพึ่งพิงกลไกรัฐหาผลประโยชน์เป็นด้านหลัก ทุนขุนนางช่วงหลัง พ.ศ.2500 มีความเข้มแข็งมากและสามารถที่จะหาผลประโยชน์ได้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้แล้วทุนขุนนางในช่วงนี้ยังได้ให้การสนับสนุนระบบทุนนิยมในประเทศ โดยการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบเปิด สร้างสรรค์บรรยายการลงทุนด้วยการให้สิทธิพิเศษหลายด้าน รวมทั้งยังควบคุมแรงงานอย่างเข้มงวดพร้อมกับกดค่าจ้างแรงงานให้ต่ำเพียงระดับยังชีพเท่านั้น ในกลุ่มประเทศเอเชียอาคเนย์ซึ่งได้แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ต่างมีลักษณะเป็นทุนขุนนางด้วยกันทั้งสิ้น โดยผู้นำประเทศเหล่านี้มีการแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง สำหรับวิธีการหาผลประโยชน์ของทุนขุนนางไทยนั้นมีด้วยกัน 4 รูปแบบคือ:- 1) การใช้ตำแหน่งหน้าที่ฉ้อราษฎร์บังหลวง 2) ใช้กลไกรัฐเป็นเครื่องมือหาผลประโยชน์ 3) ดำเนินธุรกิจที่ปราศจากเงินทุน 4) แสวงหาผลประโยชน์โดยตำแหน่งหน้าที่ทางราชการ การเกิดขึ้นของระบบทุนขุนนางนั้น จะมีผลทำให้ทรัพยากรของประเทศบางส่วนถูกใช้ไปอย่างไร้ประสิทธิภาพ เกิดการสูญเสียต่อสังคมส่วนรวมในระดับที่สูง ดังนั้นรัฐบาลควรสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยด้านนี้เพิ่มมากขึ้น อย่างน้อยผลการศึกษานี้ จะเป็นกลไกอันหนึ่งที่ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบจากระบบทุนขุนนางที่มีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Studies the roles and behaviour of bureaucratic capitalists in Thailand in the period 1957-1973. The methodology used is a historical analysis, base on document research. The study shows that in the period studied, political leaders, senior civilian and military officials not only used their powerful position, but also the government's machinery to further their own economic interests. It is also found that the methods used for seeking self interests by bureaucratic capitalists did not change dramatically in 1957-1973 as compared to 1932-1957. In both of these periods, bureaucratic capitalists relied on the government machinery. Bureaucratic capitalists in the period after 1957 were able to consolidate their powerful position, so much so that they could systematically seek rent from their powerful position. They also receive support from local capitalists in return for carrying out an open economy policy, providing favourable environment and giving numerous special privileges to private investment. At the same time they suppressed the workers'movement and kept wages low. The experiences of capitalism in all of South-East Asia, namely Thailand, Indonesia, Malaysia and the Philippines show the dominance of bureaucratic capitalists. Bureaucratic capitalists in Thailand seek benefits by four major means, namely : 1) using their powerful positions in government to earn money from corruption ; 2) using governtment mechanism to benefits themselves; 3) operating business without using their own capital funds ; and 4) seeking rent from their office. The rise of bureaucratic capitalists system led to inefficient use of the national resources. and entailed high social cost. Therefore government should promote more studies on this topic. This study has shown the negative effects of bureaucratic capitalism on the development of Thailand | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สฤษดิ์ ธนะรัชต์, จอมพล, 2451-2506 | en_US |
dc.subject | ถนอม กิตติขจร, จอมพล, 2454-2547 | en_US |
dc.subject | ประภาส จารุเสถียร, จอมพล, 2455-2540 | en_US |
dc.subject | ทุนนิยม -- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | en_US |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ | en_US |
dc.subject | ข้าราชการ -- การปฏิบัติโดยมิชอบ | en_US |
dc.subject | ขุนนาง | en_US |
dc.subject | ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ | en_US |
dc.subject | ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ -- 2500-2516 | en_US |
dc.title | ทุนขุนนางไทย (พ.ศ.2500-2516) | en_US |
dc.title.alternative | Thai bureaucratic capital (1957-1973) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rattaphong_So_front.pdf | 788.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch1.pdf | 878.41 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch2.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch3.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch4.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch5.pdf | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_ch6.pdf | 909.69 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rattaphong_So_back.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.