Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชัย พรภคกุล-
dc.contributor.advisorอมร เพชรสม-
dc.contributor.advisorจิตรตรา เพียภูเขียว-
dc.contributor.authorอรวรรณ ชลวาณิชย์, 2524--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-09-14T04:29:57Z-
dc.date.available2007-09-14T04:29:57Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745315826-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4098-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractเทคนิคไอเอสเอสอาร์ (Inter simple sequence repeats, ISSRs). เป็นเทคนิคที่อาศัยพีซีอาร์ในการเพิ่มจำนวนชิ้นดีเอ็นเอระหว่างไมโครแซทเทิลไลท์ 2 ตำแหน่ง เนื่องจากเทคนิคนี้มีความสามารถในการทำซ้ำ และบอกความแตกต่างได้สูง จึงนำเทคนิคไอเอสเอสอาร์มาใช้ในการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของเปล้าใหญ่ (Croton oblongifolius) ในประเทศไทย ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ตัวอย่างเปล้าใหญ่ 115 ตัวอย่าง เอสเอสอาร์ไพรเมอร์ 3 ชนิด ประกอบด้วย A(GA)[subscript 7]GT, CRN[subscript 2](CTT)[subscript 2] และ BSC(GA)[subscript 8] สามารถสร้างแถบดีเอ็นเอได้ 213 แถบ ไฟโลแกรมจากไพรเมอร์ทั้ง 3 ชนิด แสดงให้เห็นว่าเปล้าใหญ่ 115 ตัวอย่างจำแนกเป็น 83 แบบแผนดีเอ็นเอและจัดกลุ่มได้เป็น 2 กลุ่มหลัก นอกจากนี้ผลของไอเอสเอสอาร์ แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างภายในสปีชีส์ของเปล้าใหญ่สูง ทำการศึกษาความสัมพันธ์แบบแผนดีเอ็นเอ และองค์ประกอบทางเคมีจากเปลือกต้นเปล้าใหญ่ โดยเทคนิค[superscript 1]H-NMR และ TLC พบว่าเปล้าใหญ่ที่มีแบบแผนดีเอ็นเอต่างกัน องค์ประกอบทางเคมีจะต่างกัน และเปล้าใหญ่ที่มีแบบแผนดีเอ็นเอเหมือนกันองค์ประกอบทางเคมีจะเหมือนกัน ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนดีเอ็นเอและองค์ประกอบทางเคมีจากเปลือกต้นเปล้าใหญ่น่าจะมีควาสอดคล้องกันen
dc.description.abstractalternativeInter simple sequence repeats (ISSRs) technique is a PCR based method for amplification of DNA segment between two microsatellite repeats regions. Due to this technique has high reproducibility and polymorphism, ISSRs was employed to study genetic diversity of Croton oblongifolius (Plao-Yai) in Thailand. One-hundred and fifteen accessions of Plao-Yai were sampled in this study. Three SSR primers, G(GA)[subscript 7]GT, CRN[subscript 2](CTT)[subscript 2] and BSC(GA)[subscript 8], generated 213 bands. Phylogram from three primers revealed that 115 accessions of Plao-Yai have identified to 83 DNA patterns and classified as 2 major groups. The results of ISSRs showed high polymorphism within Croton oblongifolius species. The relationship of DNA patterns and chemical constituents from bark of Plao-Yai were studied using [superscript 1]H-NMR and TLC technique. Plao-Yai with different DNA patterns had different major chemical constituents. Plao-Yai with same DNA patterns had same chemical constituents. Therefor, chemical constituent data were concordant with DNA patternsen
dc.format.extent3426991 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเปล้าใหญ่en
dc.subjectปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสen
dc.subjectเครื่องหมายพันธุกรรมen
dc.subjectไอเอสเอสอาร์en
dc.titleการวิเคราะห์ไอเอสเอสอาร์ของเปล้าใหญ่ Croton oblongifolius ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeISSR analysis of Croton oblongifolius in Thailanden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpsurachai@chula.ac.th-
dc.email.advisorAmorn.P@Chula.ac.th-
dc.email.advisorJittra.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
OrawanCh.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.