Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42081
Title: Carbon dioxide absorption capacity of trees in Chulalongkorn University
Other Titles: ความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Authors: Chanon Suwanmontri
Advisors: Charnwit Kositanont
Noppaporn Panich
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Charnwit.K@Chula.ac.th
Noppaporn.P@Chula.ac.th
Subjects: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ
ต้นไม้ในเมือง
Chulalongkorn University
Carbon dioxide -- Absorption and adsorption
Trees in cities
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This paper studies how major environmental factors affect carbon dioxide absorption rates of common trees in Chulalongkorn University (Thailand). The carbon dioxide (CO2) absorption capacity among the 4 most abundant tree species -- Pterocarpus indicus, Samanea Saman, Peltophorum pterocarpum, and Terminalia Catappa were compared. Measuring CO2 absorption was done by chamber analysis approach, using Li-6400 Portable Photosynthesis System (LI-COR Inc., USA). Two kinds of measurements that are 1-leaf measurement, gauging the same leaf many times, and multiple leaf measurement, gauging many leaves many times were carried out. Multiple leaf measurement results were used to form models explaining relations between external factors and CO2 absorption. Based on all-day 1-leaf data, CO2 assimilation rates of each species were fluctuated all day in different patterns. The fluctuation was due to unstable weather. According to the models, it is obvious that light intensity (Photosynthetically Active Radiation) is the most influential factor to CO2 absorption for all studied species. P. pterocarpum and S. saman reach their maximum CO2 uptake rate of 24.5 µmol m-2s-1 and 20.5 µmol m-2s-1 when the photoactive radiation is 1100 µmol m-2s-1 and 1650 µmol m-2s-1 respectively. The others do not reach their maximum rate within model data range. On account of studied light intensity and plant species, it is concluded that P. pterocarpum gave the highest CO2 absorption in Chulalongkorn University during rainy season.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ ความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ เปรียบเทียบความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้หลักตามขนาดประชากร ของต้นไม้ 4 ชนิด ได้แก่ ประดู่ จามจุรี นนทรี และหูกวาง ผู้ศึกษาใช้วิธี Chamber Analysis โดยใช้ เครื่อง (Li-6400 Portable Photosynthesis System LI-COR Inc, USA) วิธีวัดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ วัด ใบไม้ใบเดียวซ้า ในหลายเวลา เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ในรอบวัน และวัดใบไม้หลายใบในหลายเวลา เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอกกับความสามารถใน การดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ผลการศึกษาพบว่าในการวัดแบบใบเดียวซ้า กัน อัตราการดูดซับ คาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้ทุกชนิดเปลี่ยนแปลงตลอดวันไปตามสภาพอากาศที่ผันผวน เมื่อนา ผลการทดลองแบบหลายใบมาสร้างสมการถดถอยแบบไม่ใช่เชิงเส้นทา ให้เห็นได้ชัดว่า ความเข้ม ของแสง (light intensity) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อความสามารถในการดูดซับคาร์บอนได ออกไซด์ ของต้นไม้ชนิดหลักทุกชนิด เมื่อเปรียบเทียบกับปัจจัยความเข้มของแสง ปรากฏว่า นนทรี และ จามจุรีมีค่าการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดอยู่ที่ 24.5 CO2 μnol m-2s-1 และ 20.5 μmol m-2s-1 ที่ความเข้มแสง 1100 photon μmol m-2s-1 และ 1650 μmol m-2s-1 ตามลา ดับ ในขณะที่ประดู่ และหูกวางนั้นไม่พบจุดสูงสุดภายในขอบเขตข้อมูล นอกจากนี้การวิเคราะห์การดูดซับคาร์บอนได ออกไซด์เฉลี่ยด้วยความเข้มแสงเฉลี่ยรายชั่วโมงสามารถสรุปได้ว่า นนทรีเป็นพันธุ์ไม้ที่มีความ สามารถ ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์สูงที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงฤดูฝน
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Environmental Science (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42081
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.463
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.463
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chanon_su.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.