Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43651
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรูญศรี มาดิลกโกวิท | en_US |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา วงษ์เอก | en_US |
dc.contributor.author | พชรภัทร พึงรำพรรณ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:43:39Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:43:39Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43651 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาท ลักษณะและรูปแบบความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นและปัจจัยเงื่อนไขในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นในการ พัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน 2) เพื่อวิเคราะห์การจัดการความรู้ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการความรู้ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน มีวิธีดำเนินการวิจัยโดยการศึกษาเอกสาร และการศึกษาภาคสนามใน 3 พื้นที่ คือ ตำบลบุพราหมณ์ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี ตำบลศิลาลอย อำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพื้นที่จากการคัดเลือกของผู้ทรงวุฒิ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสัมภาษณ์เจาะลึก 33 คน รวมทั้งการสนทนากลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 11 คน ผลการวิจัย พบว่า 1. บทบาท ลักษณะและรูปแบบความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นและปัจจัยเงื่อนไขในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นในการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน พบว่า บทบาทความร่วมมือมี 5 ประการ คือ 1) บทบาทผู้นำ 2) บทบาทผู้สนับสนุน 3) บทบาทผู้เข้าร่วม 4) บทบาทผู้ปฏิบัติ และ5) บทบาทผู้รับผล มีลักษณะความร่วมมือ คือ ความร่วมมือแบบเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ มีรูปแบบความร่วมมือ 3 ประการ คือ 1) แบบหุ้นส่วน 2) แบบกลุ่มรวมพลัง และ3) แบบเครือข่าย และมีปัจจัยเงื่อนไขในการส่งเสริมความร่วมมือ ได้แก่ ปัจจัยเงื่อนไขภายใน คือ 1) การตระหนักต่อบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน 2) การมีจิตสำนึกเรื่องความร่วมมือ 3) การมีภาวะผู้นำ 4) ระดับการศึกษา 5) ความสัมพันธ์เครือญาติ 6) กลไกทางการเมือง 7) การบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล และปัจจัยเงื่อนไขภายนอก คือ 1) บริบทชุมชน 2) กฎหมายและระเบียบ 3) การสนับสนุนจากส่วนกลาง 4) การประสานนโยบายของรัฐ 5) กลไกงบประมาณ และ6) การเสริมพลังของคนในชุมชน 2. การจัดการความรู้ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน มี 6 ประการ คือ 1) แสวงหาความรู้ 2) สร้างความรู้ 3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4) จัดเก็บความรู้ 5) นำความรู้ไปใช้ 6) การรับรู้ ซึ่งอาจมีการจัดเรียงลำดับก่อนหลังแตกต่างกัน 3. แนวทางการจัดการความรู้ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน มี 6 ขั้นตอน คือ 1) การสร้างการรับรู้ 2) การแสวงหาความรู้ 3) การสร้างความรู้ 4) การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5) การจัดเก็บความรู้ และ6) การนำความรู้ไปใช้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research is a qualitative research. The objectives are in order to: 1) study the role, characteristics and model of collaboration between province and local authority, and conditional factors in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength; 2) analyze the knowledge management of subdistrict and village headmen in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength; 3) present guidelines on knowledge management of subdistrict and village headmen in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength. The research methodology is to conduct documentary studies and field research in 3 sites: Bubrahm subdistrict, Nadee district, Pracheenburi Province; Silaloy subdistrict, Samroiyod district, Prachuabkirikan Province; and Nongyao subdistrict, Panomsarakam district, Chachoengsao Province which are selected by the experts. The data collection is conducted by observation, in-depth interview (33 persons), and focus group discussion of 11 experts. The research findings revealed that 1. The role, characteristics and model of collaboration between province and local authority, and conditional factors in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength: the 5 collaborative roles were 1) leader, 2) supporter, 3) participated persons, 4) practitioners, and 5) gained persons; there were official and unofficial collaboration; the 3 cooperating patterns were 1) partner, 2) co-powering group, 3) networking; and the conditioned factors in promoting collaboration were 7 internal factors: 1) clearly realize duty roles of each others, 2) having the collaboration consciousness, 3) leadership, 4) education level, 5) family relationship, 6) political mechanism, and 7) managed by good governance; and 6 external factors: 1) community context, 2) laws and regulations, 3) central support, 4) government policy coherence, 5) budget mechanism, and 6) man powering in community. 2. The knowledge management of subdistrict headman, village headman in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength; found 6 categories: 1) seeking knowledge; 2) knowledge creation; 3) exchange learning; 4) storing knowledge; 5) knowledge usage; and 6) acknowledging. The sequence might be re-arranged. 3. Guidelines on the knowledge management of subdistrict and village headmen in promoting collaboration between provincial staff and local authority staff for developing community strength; found 6 steps:1) creating awareness, 2) seeking knowledge, 3) creating knowledge, 4) sharing and exchanging knowledge, 5) storing knowledge, and 6) knowledge usage. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1114 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | |
dc.subject | ประชาสังคม | |
dc.subject | Knowledge management | |
dc.subject | Civil society | |
dc.subject | ปริญญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.title | แนวทางการจัดความรู้ของกำนันผู้ใหญ่บ้านในการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างท้องที่กับท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | KNOWLEDGE MANAGEMENT GUIDELINES OF SUBDISTRICT AND VILIAGE HEADMEN IN PROMOTING COLLABORATION BETWEEN PROVINCIAL STAFF AND LOCAL AUTHORITY STAFF FOR DEVELOPING COMMUNITY STRENGTH | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | พัฒนศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | charoonsri@hotmail.com | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1114 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5284232727.pdf | 6.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.