Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44033
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพันธ์ คูชลธารา
dc.contributor.authorวัจนาภรณ์ คำบุญเรือง
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2015-06-24T09:26:17Z
dc.date.available2015-06-24T09:26:17Z
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44033
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตมีเทนจากมีเทเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ในเครื่องปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง ที่อุณหภูมิ 400 500 และ 600 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังทำการศึกษาปัจจัยอื่นๆ เช่น ความดัน อัตราส่วนโดยโมลที่ทำปฏิกิริยาของไฮโดรเจนต่อคาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีผลต่อร้อยละการเปลี่ยนของสารตั้งต้นและการเลือกเกิดมีเทนของปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้จะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดโลหะนิกเกิลบนตัวรองรับทัลค์ที่ผ่านการปรับปรุงประสิทธิภาพแล้ว จากผลทดลองพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดนี้สามารถเร่งการเกิดมีเทนในมีเทเนชันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อมีการเพิ่มอุณหภูมิ ความดัน และเพิ่มอัตราส่วนของโมลไฮโดรเจน โดยภาวะดำเนินการที่เหมาะสมของปฏิกิริยามีเทเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ คือ ที่ภาวะอุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส ความดันบรรยากาศ อัตราส่วนโดยโมลของไฮโดรเจนต่อของคาร์บอนมอนอกไซด์ในปฏิกิริยาคาร์บอนมอนอกไซด์มีเทเนชัน คือ 3 ต่อ 1 ร้อยละการเปลี่ยนของสารตั้งต้น คือ 100 และร้อยละการเลือกเกิดมีเทน คือ 51.3 และผลของปฏิกิริยามีเทเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ที่ภาวะอุณหภูมิและความดันเดียวกัน โดยใช้อัตราส่วนโดยโมลของไฮโดรเจนต่อคาร์บอนไดออกไซด์ในปฏิกิริยามีเทเนชันของคาร์บอนไดออกไซด์ คือ 4 ต่อ 1 ร้อยละการเปลี่ยนของสารตั้งต้น คือ 85 และร้อยละการเลือกเกิดมีเทน คือ 70.5 ผลการทดลองที่ได้นี้สามารถสรุปได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลบนตัวรองรับทัลค์มีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยามีเทเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ภาวะในการทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส ที่ความดันบรรยากาศได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis research studied methane production of carbon monoxide (CO) and carbon dioxide (CO₂) in a fixed-bed reactor at temperature of 400 – 600 °C. The other parameters, such as pressure and molar ratio of H2/CO and H₂ /CO₂ which affects to CO and CO₂ %conversion and selectivity of methanation, were also studied. Nickel Oxide supported Talcum (NiO/Talc) was used as a catalyst. The result showed that NiO/Talc was capable of enhancing %conversion and %selectivity of reactants to methane at higher temperature, pressure and molar ratio of H₂. The optimum conditions for CO methanation were temperature of 600 °C at atmospheric pressure with H₂/CO molar ratio about 3 : 1. That gave 100 %conversion and 51.3 %selectivity. The other one, CO₂ methanation, optimum conditions were temperature of 600 °C at atmospheric pressure with H2 /CO₂ molar ratio about 4 : 1. It gave 85 %conversion and 70.5 %selectivity. These results approved that NiO/Talc was able to give high selectivity toward methane for both of CO and CO₂ methanation at temperature of 600 °C and atmospheric pressure.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.385-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมีเทเนชันen_US
dc.subjectคาร์บอนมอนอกไซด์en_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectทัลค์en_US
dc.subjectนิกเกิลen_US
dc.subjectMethanationen_US
dc.subjectCarbon monoxideen_US
dc.subjectCarbon dioxideen_US
dc.subjectCatalystsen_US
dc.subjectTalcen_US
dc.subjectNickelen_US
dc.titleมีเทเนชันของคาร์บอนมอนอกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์บนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลออกไซด์/ทัลก์en_US
dc.title.alternativeMethanation of CO and CO₂ on NiO/talc catalysten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเชื้อเพลิงen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorprapank@sc.chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.385-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wathanaporn _Kh.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.