Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44810
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี แกมเกตุ-
dc.contributor.authorสุรเกียรติ ธาดาวัฒนาวิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-29T05:05:06Z-
dc.date.available2015-08-29T05:05:06Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44810-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 กับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ3) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของโมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 450 คน ตัวแปรในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรแฝงภายนอก 2 ตัวแปร ตัวแปรแฝงภายใน 3 ตัวแปร โดยตัวแปรแฝงวัดได้จากตัวแปรสังเกตได้ทั้งหมด 14 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) โมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 ประกอบด้วยตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคมส่งอิทธิพลผ่านการรับรู้ความสามารถของตนเองและความสามารถทางภาษาต่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ตัวแปรที่ส่งอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศสูงสุดคือ การสนับสนุนทางสังคม 2) โมเดลเชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ค่าไค-สแควร์ = 72.73, df = 57, p = .078, GFI = 0.98, AGFI = 0.96, RMSEA = 0.025) 3) โมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นไม่มีความแปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดลและค่าพารามิเตอร์อิทธิพลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในโมเดลระหว่างสังกัดen_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to develop the causal model of media and information literacy for fourth to sixth grade students. 2) to examine the goodness of fit of the model to the empirical data. 3) to test invariance of the model of media and information literacy. The samples used were 450 student. Variables consisted of two exogenous latent variables and 3 endogenous variables. These latent variables were measured by 14 observed variables. Questionnaire were used as research instruments. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation and LISREL analysis. The results were as follows: 1) the causal model of media and information literacy for fourth to sixth grade students consisted of direct effect variable: social support, self-efficacy and media and information time. The highest total affecting variable was social support. 2) The overview of causal model was fitted with empirical data having Chi-square = 72.73 df = 57 GFI = 0.98 AGFI = 0.96 RMSEA = 0.025 3) The causal model of media and information literacy of fourth to sixth grade student had invariance of across jurisdiction.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1631-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการรู้สารสนเทศ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectInformation literacy -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectMedia literacy -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 : การวิเคราะห์ความไม่แปรเปลี่ยนระหว่างสังกัดen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a causal model of media and information literacy of fourth to sixth grade students : an invariance test for across jurisdictionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWannee.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1631-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
surakiat_ta.pdf2.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.