Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญธิดา โฆษิตทรัพย์en_US
dc.contributor.advisorศุภจิตรา ชัชวาลย์en_US
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ปัญจขันธ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:04:31Z-
dc.date.available2015-09-17T04:04:31Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45698-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการประเมินลักษณะการตอบสนองทางสรีรวิทยาต่อภาวะแล้งของประชากรข้าว CSSLs จำนวน 4 สายพันธุ์ ที่มีพื้นฐานทางพันธุกรรมของข้าวขาวดอกมะลิ 105 และได้รับยีนทนแล้งบนโครโมโซมที่ 8 จากสายพันธุ์ DH103 เปรียบเทียบกับสายพันธุ์พ่อแม่ (DH103 และ KDML105) โดยให้ภาวะแล้งระดับ 75% field capacity และ 50% field capacity สำหรับชุดทดลอง ส่วนชุดควบคุมกำหนดให้ได้รับน้ำระดับ 100% field capacity พบว่า เฉพาะภาวะแล้งระดับ 50% field capacity เท่านั้นที่สามารถกระตุ้นให้ข้าวแสดงการตอบสนองทางสรีรวิทยาต่อภาวะแล้ง ซึ่งข้าวแต่ละสายพันธุ์มีลักษณะการตอบสนองต่อภาวะแล้งที่แตกต่างกัน โดยสายพันธุ์ RGD06064-6-MAS52 เป็นข้าว CSSL สายพันธุ์เดียวที่มีความสามารถในการตอบสนองต่อภาวะแล้งที่ดีกว่าข้าวพันธุ์ KDML105 โดยมีค่าคลอโรฟิลล์ฟลูออเรสเซนต์ประมาณ 0.8 มีคะแนนความแห้งของใบต่ำ และมีปริมาณน้ำสัมพัทธ์ภายในใบข้าวสูงกว่าข้าวพันธุ์ KDML105 ขณะได้รับภาวะแล้ง ซึ่งลักษณะการตอบสนองต่อภาวะแล้งดังกล่าว คล้ายกับลักษณะการตอบสนองต่อภาวะแล้งของข้าวสายพันธุ์ DH103 ซึ่งเป็นข้าวสายพันธุ์ข้าวทนแล้ง แสดงว่ายีนทนแล้งที่อยู่บนโครโมโซมที่ 8 ควบคุมลักษณะความสามารถในการรักษาประสิทธิภาพของ photosystem II ความสามารถในการป้องกันการเกิดการแห้งของใบ และความสามารถในการรักษาปริมาณน้ำภายในเซลล์เมื่อได้รับภาวะแล้งen_US
dc.description.abstractalternativePhysiological responses of 4 CSSL rice populations, which have genetic background of ‘KDML105’ rice and contain the drought-tolerant gene from DH103 line on chromosome 8 were compared with parental lines (DH103 and KDML105). The seedlings were treated with drought stress by exposure to soil with 75% and 50% field capacity. The control condition was set at 100% field capacity. Results showed that only the treatment of 50% field capacity could distinguish physiological responses to drought stress. Moreover, each line responded differently when exposed to drought stress. RGD060646-6-MAS52 was the only CSSL line that had higher level of drought tolerance than ‘KDML105’ rice as determined by normal level of chlorophyll fluorescence, lower leaf drying score and higher relative water content than 'KDML105' rice under drought stress condition. The responses of RGD060646-MAS52 in these parameters were similar to DH103 which was drought-tolerant line. This suggests that the drought-tolerant genes located on chromosome 8 involve in maintaining photosystem II function, transpiration, and retaining intracellular water levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประเมินการตอบสนองต่อภาวะแล้งของข้าว Oryza sativa L. ที่มีส่วนของโครโมโซมที่ 8 จากข้าวสายพันธุ์ DH103 และมีพื้นฐานทางพันธุกรรมของข้าวขาวดอกมะลิ 105en_US
dc.title.alternativeEVALUATION FOR DROUGHT STRESS RESPONSES OF RICE Oryza sativa L. CONTAINING SEGMENT OF CHROMOSOME 8 FROM 'DH103' RICE AND GENETIC BACKGROUND OF 'KDML105' RICEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพฤกษศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonthida.K@Chula.ac.th,Boonthida.K@chula.ac.then_US
dc.email.advisorSupachitra.C@Chula.ac.then_US
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5671929723.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.