Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45945
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศราวุธ ริมดุสิตen_US
dc.contributor.authorเชาวลิต ประเสริฐสมบูรณ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-18T04:20:58Z
dc.date.available2015-09-18T04:20:58Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45945
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractยางประเภทต่างๆ ทั้งยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์สามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลและทางความร้อนของยางมะตอยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับงานการทาง วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อเพิ่มสมบัติเชิงกลและทางความร้อนของยางมะตอยสำหรับงานการทางโดยใช้เศษยางเป็นสารดัดแปร โดยจะทำการปรับปรุงสมบัติของยางมะตอยเกรด AC 60/70 ด้วยการเติมผงยางธรรมชาติจากเศษถุงมือยางในอัตราส่วน 1, 3, 5 และ 7 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ทำการผสมโดยใช้เครื่องกวนที่อุณหภูมิ 150 และ180 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ที่ความเร็วรอบ 3,000 รอบต่อนาที ศึกษาผลของการปรับปรุงสมบัติยางมะตอยด้วยผงยางจากเศษถุงมือยาง พบว่ามอดูลัสสะสม (Storage modulus) มีค่าสูงขึ้น เมื่อปริมาณเศษยางเพิ่มขึ้น และอุณหภูมิการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Tg) ของยางมะตอยดัดแปรมีค่าต่ำลง อุณหภูมิการสลายตัวทางความร้อนของยางมะตอยดัดแปรด้วยผงยางจากเศษถุงมือยางเพิ่มขึ้นเป็น 357 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิ 340 องศาเซลเซียสของยางมะตอยปกติ นอกจากนี้ยังพบว่าจุดอ่อนตัว (Softening point) ของยางมะตอยเพิ่มขึ้นในขณะที่ค่าการเจาะลึก (Penetration) ลดลง และค่าการยืดหยุ่นกลับ (Elastic recovery) มีค่าสูงขึ้น เมื่อปริมาณผงยางเพิ่มขึ้น และเมื่อเพิ่มอุณหภูมิการผสมจาก 150 เป็น 180 องศาเซลเซียสค่าตัวแปรต่างๆที่ทำการทดสอบมีแนวโน้มดีขึ้น จากการศึกษาการดัดแปรยางมะตอยด้วยผงยางจากเศษถุงมือยางมีแนวโน้มที่จะสามารถลดการเสียรูปของผิวถนนในการเกิดร่องล้อ (Rutting) และ การเยิ้ม (Bleeding)ได้เป็นอย่างดีen_US
dc.description.abstractalternativeThe use of rubbers for modification of asphalt is an attempt to prolong the service life and improve the performance of asphalt particularly for road pavement applications. This research aims to study mechanical and thermal properties of asphalt modification by scrap gloves powder. The 60/70 penetration grade asphalts were modified by varying the amount of scrap gloves powder at 1wt%, 3wt%, 5wt% and 7wt%. The suitable mixing condition was achieved by mechanical mixing for 1 hr. at 150 and 180°C and a mixing speed of 3,000 rpm. The storage modulus increased when scrap gloves powder contents increased and the glass transition temperature (Tg) of scrap glove powder-modified asphalt decreased. The degradation temperature of scrap gloves powder -modified asphalt increased to 357°C from 340°C of unmodified asphalt. Softening point of the scrap gloves powder-modified asphalt increased with increasing the scrap gloves powder contents while the penetration depth decreased when the scrap gloves powder increased. Appreciable decrease in formation of rutting and bleeding are thus expected to be achieved by the use of the scrap gloves powder-modified asphalts.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.679-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแอสฟัลต์
dc.subjectยาง
dc.subjectAsphalt
dc.subjectRubber
dc.titleยางมะตอยที่ดัดแปรด้วยอนุภาคยางจากเศษถุงมือยางen_US
dc.title.alternativeScrap glove powder modified asphaltsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSarawut.R@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.679-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5470926421.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.