Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47026
Title: Bf2-curcumin-based and anthraquinone imidazole-based sensors for detection of nucleotides
Other Titles: เซ็นเซอร์ฐานไดฟลูออโรโบรอนเคอร์คิวมิน และฐานแอนทรควโนนอิมิดาโซล เพื่อตรวจวัดนิวคลีโอไทด์
Authors: Sornkrit Marbumrung
Advisors: Boosayarat Tomapatanaget
Gamolwan Tumcharern
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: tboosaya@yahoo.com
gamolwan@ nanotec.or.th
Subjects: Anthraquinones
Principal components analysis
Nucleotide sequence
แอนทราควิโนน
การวิเคราะห์ตัวประกอบสำคัญ
ลำดับนิวคลีโอไทด์
Issue Date: 2011
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: A new fluorescence sensor (L1), based on BF2-Curcumin and dpa (bis (2-pyridylmethyl)amine) for detection of Zn2+and Cu2+ ions was synthesized. The sensor demonstrates the blue-shifted absorption band from 472 nm to 421 nm and the fluorescence quenching at 587 nm in acetonitrile after adding both metal ions. The dpa-Zn complex was expected to be used as chemosensor for detecting biological nucleoside polyphosphates in aqueous solution. Unfortunately, in aqueous system two Zn2+ ions upon dpa-Zn complex were released by water. Therefore, we developed the chemosensor containing pyrene and dpa-Zn complex (L2•Zn) for detection of nucleotide in aqueous solution. This sensor has a high selectivity for PPi in aqueous solution. In contrast for the case of DMSO:HEPES (0.01 M, pH 7.4 90:10 v/v), L2•Zn selectively bind to nucleoside polyphosphates such as ATP and UTP with a large fluorescence enhancement. The Principal Component Analysis (PCA) was used to discriminate between 10 nucleotides by two solvent systems. This approach was found to identify 10 analytes with 88% accuracy. To illustrate the utility of this approach for ATP hydrolysis application, the ratio between the product of reaction (PPi) and the reactant (ATP) can be used in quantitative identification of the PPi and ATP ratios.
Other Abstract: ได้สังเคราะห์ฟลูออเรสเซนต์เซ็นเซอร์ที่มีไดฟลูออโรเคอร์คิวมินและไดพิโคลิวเอมีนเป็นองค์ประกอบ จากนั้นศึกษาการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของเซ็นเซอร์ L1 ด้วยเทคนิคยูวีวิสิเบิลและฟลูออเรสเซนต์ โดยพบว่าเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของเซ็นเซอร์ต่อโลหะสังกะสีและทองแดงในอัตราส่วน 1:2 และให้ค่าการดูดกลืนแสงสูงสุดที่ 472 นาโนเมตร ผลของสังกะสีทำให้เกิดการเคลื่อนของค่าการดูดกลืนแสงสูงสุดไปที่ความยาวคลื่นต่ำลง เและเซ็นเซอร์ให้ค่าสเปกตรัมการเปล่งแสงสูงสุดที่ 587 นาโนเมตร โดยสังกะสีและทองแดงส่งผลให้ความเข้มของสเปกตรัมการคายแสงลดลง แต่สารประกอบเชิงซ้อนกับสังกะสีของเซ็นเซอร์นี้ไม่สามารถใช้ในการตรวจจับนิวคลีโอไทด์ในน้ำได้ เนื่องจากเมื่ออยู่ในน้ำสังกะสีหลุดออกจากสารประกอบเชิงซ้อน ดังนั้นจึงสังเคราะห์เซ็นเซอร์ตชนิดใหม่ที่ประกอบด้วยไพรีนและสารประกอบเชิงซ้อนไดพิโคลิวเอมีนที่จับกับสังกะสีเพื่อตรวจวัดนิวคลีโอไทด์ในน้ำ พบว่า เซ็นเซอร์ L2•Zn มีความจำเพาะเจาะจงกับไพโรฟอสเฟตในน้ำ แต่ในระบบตัวทำละลายอินทรีย์ DMSO:HEPES (0.01 M, pH 7.4 90:10 v/v) พบว่า สามารถจับกับนิวคลีโอไทด์ที่มีหมู่ฟอสเฟต 3 หมู่ได้ดี ได้แก่ เอทีพี (ATP) และยูทีพี (UTP) โดยนิวคลีโอไทด์ส่งผลให้ความเข้มของสเปกตรัมการคายแสงเพิ่มขึ้น เมื่อนำการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principal Component Analysis) มาใช้ในการแยกความสามารถในการจับกับนิวคลีโอไทด์ทั้ง 10 ชนิดในตัวทำละลายทั้งสองระบบ วิธีการนี้สามารถแยกสารตัวอย่างได้ด้วยความแม่นยำ 88 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ ยังสามารถประยุกต์ใช้ในการหาอัตราส่วนระหว่างไพโรฟอสเฟตกับเอทีพีในกระบวนการเอทีพีไฮโดรไลซิส ( ATP hydrolysis) ได้อีกด้วย
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2011
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Chemistry
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47026
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.150
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2011.150
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sornkrit_ma.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.