Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSunanta Pongsamart-
dc.contributor.advisorDuangdeun Meksuriyen-
dc.contributor.authorOranuch Nakchat-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.date.accessioned2015-12-30T07:07:34Z-
dc.date.available2015-12-30T07:07:34Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47035-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2011en_US
dc.description.abstractThis study aimed to determine antioxidant activities of Tamarindus indica seed coat extracts and evaluate its protective activities against hydrogen peroxide (H2O2)-induced oxidative stress in human foreskin fibroblast CCD-1064Sk cells. The roasted seed coat of tamarind was extracted with various solvent systems: 70% ethanol (TSCE-E), ethyl acetate (TSCE-EA), 70% ethanol followed by partition with chloroform and then ethyl acetate (TSCE-EEA), and boiling-water followed by partition with ethyl acetate (TSCE-W). The highest phenolic content was observed in TSCE-W which revealed the free radical scavenging activities in cell-free system. TSCE-W possessed the highest DPPH● and ABTS●+ scavenging activities. TSCE-W was also exhibited superoxide anion radical, hydroxyl radical, H2O2, and nitric oxide scavenging activities, including reducing power and anti-lipid peroxidation activities comparable with other TSCEs. In cell-based assay, TSCE-W up to 1 mg/mL did not show cytoxicity against CCD-1064Sk cells as determined by various standard assays: MTT, neutral red, Hoechst 33342 staining and trypan blue dye exclusion assay. Cells treated with TSCE-W alone at the non-toxic concentration did not generate reactive oxygen species (ROS) and lipid peroxidation. Additionally, TSCE-W significantly increased intracellular glutathione (GSH) level and the activity of superoxide dismutase (SOD) and catalase (CAT). TSCE-W reduced the generation of ROS and lipid peroxidation as well as increased intracellular GSH level in H2O2-treated cells. The antioxidant mechanism of TSCE-W via protein expression was performed using Western blot analysis. The result showed that treatment of TSCE-W before H2O2 exposure for 3 h significantly up-regulated the protein expression of antioxidant enzymes including copper, zinc superoxide dismutase (Cu,ZnSOD), glutathione peroxidase (GPx), and glutathione-S-transferase (GST) as compared with vehicle control. Treatment of TSCE-W prior to H2O2 exposure for 6 h maintained the protein expression of Cu,ZnSOD, GPx, and CAT comparable with vehicle control. The results suggest that an inexpensive and simple boiling-water extraction of TSCE-W may provide a good source of natural antioxidant. TSCE-W protected oxidative stress in cells by the regulation of antioxidant enzymes expression, TSCE-W potentially useful for health food additives and cosmeceuticals.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเปลือกเมล็ดมะขามในการต้านออกซิเดชันและฤทธิ์ในการปกป้องเซลล์ไฟโปรบลาส์ต ซีซีดี1064เอสเค ที่เหนี่ยวนำให้เกิดออกซิเดชันด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลองของสารสกัดเปลือกเมล็ดมะขามคั่วที่สกัดด้วยตัวทำละลายที่แตกต่างกัน ได้แก่ สกัดด้วย 70% เอทานอล (TSCE-E) สกัดด้วยเอทิลอะซิเตท (TSCE-EA) สกัดด้วย 70% เอทานอลต่อด้วยคลอโรฟอร์มและเอทิลอะซิเตท (TSCE-EEA) สกัดด้วยน้ำร้อนต่อด้วยเอทิลอะซิเตท (TSCE-W) พบว่า TSCE-W มีสารประกอบฟีนอลิกมากที่สุดและสามารถต้านอนุมูลอิสระ DPPH• และ ABTS•+ ได้ดีที่สุด นอกจากนี้ TSCE-W ยังมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระซุปเปอร์ออกไซด์ แอนอิออน (O2•-) อนุมูลอิสระไฮดรอกซิล (HO•) ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และ ไนตริก ออกไซด์ (NO•) รวมถึงมีความสามารถในการรีดิวซ์และต้านการเกิดลิพิดเปอร์ออกซิเดชันได้ดีใกล้เคียงกับสารสกัดเปลือกเมล็ดมะขามที่สกัดด้วยตัวทำละลายอื่น ๆ ศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในเซลล์ซีซีดี1064เอสเค พบว่า TSCE-W ที่ความเข้มข้นไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไม่เป็นพิษต่อเซลล์เมื่อทดสอบด้วยวิธี MTT, neutral red, ย้อมด้วย Hoechst 33342 และ trypan blue นอกจากนี้ TSCE-W ที่ความเข้มข้นดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดอนุมลอิสระชนิดออกซิเจน (ROS) และลิพิดเปอร์ออกซิเดชันภายในเซลล์ อีกทั้ง TSCE-W ยังสามารถเพิ่มปริมาณกลูตาไธโอนและเพิ่มการทำงานของเอนไซม์ซุปเปอร์ออกไซม์ดิสมิวเทส (SOD) และคะตะเลส (CAT) ด้วย ศึกษาฤทธิ์ในการปกป้องเซลล์ที่เหนี่ยวนำให้เกิดภาวะเครียดด้วย H2O2 พบว่า TSCE-W สามารถลดปริมาณ ROS ลดการเกิดลิพิดเปอร์ออกซิเดชันและเพิ่มปริมาณกลูตาไธโอนภายในเซลล์ที่มีชีวิต ศึกษากลไกการกำจัดอนุมูลอิสระภายในเซลล์ของ TSCE-W ผ่านการแสดงออกของโปรตีนด้วยวิธี Western blot พบว่าเมื่อบ่มเซลล์ด้วย TSCE-W เป็นเวลา 24 ชั่วโมงก่อนเหนี่ยวนำด้วย H2O2 เป็นเวลานาน 3 ชั่วโมง TSCE-W สามารถเพิ่มการแสดงออกโปรตีนของเอนไซม์ต้านอนุมูลอิสระ copper, zinc superoxide dismutase (Cu,ZnSOD), glutathione peroxidase (GPx) และ glutathione-S-transferase (GST) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับสารสกัดและH2O2 และเมื่อเหนี่ยวนำด้วย H2O2 เป็นเวลานาน 6 ชั่วโมง พบว่า TSCE-W สามารถควบคุมการแสดงออกของโปรตีนของเอนไซม์ Cu,ZnSOD, GPx และ CAT ให้กลับสู่สมดลเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับสารสกัดและH2O2 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า การสกัดด้วยน้ำเดือดเป็นวิธีที่มีราคาถูกและง่าย ได้สารสกัดธรรมชาติของสารต้านอนุมุลอิสระที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีทั้งในหลอดทดลองและภายในเซลล์ สารสกัด TSCE-W สามารถปกป้องเซลล์จากภาวะออกซิเดชันผ่านการควบคุมการแสดงออกของเอนไซม์ต้านอนุมูลอิสระต่าง ๆ สารสกัดมีศักยภาพสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพและผลิตภัณฑ์เวชสำอางได้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.159-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectAntioxidantsen_US
dc.subjectTamarind indicaen_US
dc.subjectTamarind indica -- Seedsen_US
dc.subjectPlant extractsen_US
dc.subjectแอนติออกซิแดนท์en_US
dc.subjectมะขามen_US
dc.subjectมะขาม -- เมล็ดen_US
dc.subjectสารสกัดจากพืชen_US
dc.titleAntioxidant and cytoprptective effects of Tamarindus indica seed coat extracten_US
dc.title.alternativeฤทธิ์ต้านออกซิเดชันและฤทธิ์ปกป้องเซลล์ของสารสกัดเปลือกเมล็ดมะขามen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineBiomedicinal Chemistryen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSunanta.Po@Chula.ac.th-
dc.email.advisorDuangdeun.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.159-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
oranuch_na.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.