Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47444
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทยา สุจริตธนารักษ์-
dc.contributor.authorรัฐการ มิฆเนตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-04-04T07:42:45Z-
dc.date.available2016-04-04T07:42:45Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745777374-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47444-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษาถึงความเป็นมาของเยาวชนพรรคการเมืองไทย บทบาทหน้าที่ของเยาวชนพรรคการเมืองในการพัฒนาพรรคการเมืองไทย และผลของการมีและการยอมรับของพรรคการเมืองต่างๆ โดยศึกาาจากกรณีของเยาวชนพรรคประชาธิปัตย์เป็นหลัก ผลการวิจัยพบว่า “กลุ่มหนุ่มประชาธิปัตย์” เป็นเยาวชนพรรคการเมืองของพรรคประชาธิปัตย์จัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2512 มีบทบาทและก่อประโยชน์ให้แก่พรรคประชาธิปัตย์ และยุติกิจกรรมของกลุ่มเมื่อ พ.ศ.2514 จากนั้นสมาชิกส่วนใหญ่ของกลุ่มได้เข้ามามีอิทธิพลในพรรคและมีปัญหาขัดแย้งกับ “คนรุ่นเก่า” จนเป็นเหตุให้คนรุ่นเก่าต้องแยกตัวออกจากพรรคไปต่อมาเมื่อ พ.ศ.2523 ได้เกิดกลุ่ม “ยุวประชาธิปัตย์” ขึ้นอีกครั้งหนึ่งและดำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อพรรคแต่ก็ประสบปัญหาขาดการสนับสนุนจากพรรค และการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มบางกรณีได้สร้างความไม่พอใจแก่ผู้ใหญ่ในพรรค ทำให้กลุ่ม “ยุวประชาธิปัตย์” ลาออกจากพรรคประชาธิปัตย์ใน พ.ศ.2531 นอกเหนือจากการเกิดของกลุ่ม “ยุวประชาธิปัตย์” แล้ว ยังได้เกิดกลุ่มเยาวชนพรรคการเมืองขึ้นในพรรคการเมืองอื่นๆ อีก อาทิ กลุ่ม “เยาวชนพรรคพลังใหม่” ในพรรคพลังใหม่ เมื่อ พ.ศ.2524 กลุ่ม “อนุชนสังคมประชาธิปไตย” ในพรรคสังคมประชาธิปไตยเมื่อ พ.ศ.2525 และกลุ่ม “เยาวชนภราดรภาพพรรคก้าวหน้า” ในพรรคก้าวหน้าเมื่อ พ.ศ.2529 กลุ่มเยาวชนพรรคการเมืองทั้งสามได้ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอันเอื้อประโยชน์ต่อพรรคการเมืองตน เช่นเดียกับกลุ่ม “ยุวประชาธิปัตย์” โดยแสดงบทบาทหน้าที่ในการอาสาสมัครปฏิบัติงานช่วยเหลือพรรคในช่วงเลือกตั้ง ช่วยสรรหาบุคลากรและนักการเมืองให้แก่พรรค เรียนรู้กิจกรรมทางการเมืองและเผยแพร่กิจกรรมดังกล่าวแก่สมาชิกพรรค รวมทั้งดำเนินกิจกรรมเคลื่อนไหวในปัญหาทางการเมืองและทางสังคมภายใต้ชื่อพรรคที่ตนสังกัด ดังนั้นจะเห็นได้ว่ามีพรรคการเมืองไทยหลายพรรคที่เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาของพรรคการเมือง และการเรียนรู้ทางการเมืองอันเป็นการสร้างฐานทางการเมืองใหพรรคการเมืองมีความเข้มแข็งในระดับหนึ่งen_US
dc.description.abstractalternativeThe thesis attempts to study the development of Thai youth within political parties : role, function and parties’ reaction. The Democrat Party is used as a case study. Thai political party youth first appeared in 1969 in the Democrat Party under the of “Young Democrat.” This group terminated its activities, since their increasing role irked the conservative wing within the party the departure of which signaled a split in the party. In 1980, youth group formed “Democratic Youth Group” in the Democrat Party. However, the “ Democratic youth Group” stumbled unexpectedly due to a lack of the party’s support and senior party members’ discontent vis-a-vis the group’s separation in 1988. Besides, he Democrat Party’s internal rupture entailed a seemingly thriving birth in 1981, 1982, 1986 respectively of other political youth groups in other parties such as, “New Force Youth Party,” “Social Democart Youth”, “Progressive Youth Society”. Those political party youth groups’ role and function can be summarized as the followings ; volunteering to assist the party during election, providing personel and politicians for the party, learning and providing political knowledge to party members, representing the party in political and social affairs.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพรรคประชาธิปัตย์en_US
dc.subjectยุวประชาธิปัตย์en_US
dc.subjectพรรคการเมือง -- ไทยen_US
dc.subjectการเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทยen_US
dc.subjectสังคมประกิตทางการเมืองen_US
dc.subjectเยาวชน -- ไทย -- กิจกรรมทางการเมืองen_US
dc.titleยุวประชาธิปัตย์ในฐานะองค์กรเสริมสร้างพัฒนาการของพรรคประชาธิปัตย์en_US
dc.title.alternativeYoung democrat as a tool to strengthen the domocrat partyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการปกครองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rattakarn_mi_front.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch1.pdf915.23 kBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch2.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch3.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch4.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch5.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch6.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_ch7.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Rattakarn_mi_back.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.