Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorรัชดา แดงจำรูญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-01T10:36:48Z-
dc.date.available2016-06-01T10:36:48Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746319957-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47724-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพของโสเภณีในละครโทรทัศน์ปี 2535 ว่ามีลักษณะเป็นเช่นไร มีความหมายว่าอย่างไร และได้สะท้อนให้เห็นแนวคิด ทัศนคติ ค่านิยม หรืออุดมการณ์อะไรบ้าง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากเนื้อหาและวิธีการนำเสนอของละครโทรทัศน์จำนวน 6 เรื่อง ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ภาพของโสเภณีที่ถูกนำเสนอ ส่วนใหญ่ยังมีลักษณะเดิม เป็นภาพแบบฉบับคือ แต่งตัวโป๊ แต่งหน้าเข้ม ท่าทางจัดจ้าน ซึ่งเป็นภาพของ “ผู้หญิงไม่ดีในสายตาของสังคม” และถึงแม้ละครจะพยายามเสนอมุมมองที่แตกต่าง เช่น ความมีน้ำใจ ปรารถนาดีต่อผู้อื่น แต่ก็พบว่า ภาพเหล่านี้มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น 2) ความหมายจากการนำเสนอภาพของโสเภณีนั้น พบว่า ละครได้นำเสนอสาเหตุของการเป็นโสเภณีว่าเกิดจากความไม่ดีของผู้หญิง (ซึ่งเป็นมุมมองแบบ System Approach) และเกิดจากปัจจัยอื่นๆ ทางสังคม (ซึ่งเป็นมุมมองแบบ Feminist Approach) ประกอบกัน 3) สำหรับการนำเสนออุดมการณ์ในเรื่องเพศพบว่าอุดมการณ์หลักซึ่งให้อภิสิทธิ์แก่ฝ่ายชายนั้นยังคงถูกนำเสนอในมิติต่างๆ ของละครโดยส่วนใหญ่ ในขณะที่อุดมการณ์ต่อต้าน ซึ่งเน้นความเสมอภาคระหว่างเพศ มีการนำเสนอเพียงเล็กน้อย เท่านั้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to study the presentation of prostitute on T.V. soap opera in 1992. The thesis investigated the aspect and meaning of the presentation and also the point of view, attitude or ideology latently presented. The study uses a qualitative approach focusing on the analysis of the content and presentation of the six T.V. soap operas. The results of the study are as follows: 1) The image of prostitute is presented in the way it used to be. The characters are mostly portrayed as “the stereotype: the women in unsuitable dress, with a lot of make-up and harsh act” which implies “bad women in the eyes of the society”. Though there are some different aspects like the thoughtfulness and good will of the characters, they are minor. 2) The meaning of the presentation can be interpreted that the soap opera is under the influence of System Approach and Feminist Approach. 3) With regard to ideology on gender, the T.V. soap opera still mainly presents dominant ideology (double standard: the emphasis on the privilege of men), while the counter ideology (the equality between two senses) is slightly presented.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโสเภณีen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์ -- ไทยen_US
dc.titleภาพของโสเภณีในละครโทรทัศน์ ปี 2535en_US
dc.title.alternativePresentation of prostitute on T.V. soap opera in 1992en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKanjana.Ka@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rachada_da_front.pdf568.06 kBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_ch1.pdf615.86 kBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_ch2.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_ch3.pdf538.38 kBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_ch4.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_ch5.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Rachada_da_back.pdf907.28 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.