Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์-
dc.contributor.authorรังสฤษฎ์ แม้นมินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-08T04:13:03Z-
dc.date.available2016-06-08T04:13:03Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745772453-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48231-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ที่เรียนด้วยวิธีสอนที่ใช้เกมและไม่ใช้เกม ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนแนผการเรียนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดหนองจอก จำนวน 48 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 24 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแผนการสอนด้วยวิธีสอนที่ใช้เกมแลไม่ใช้เกม ประเภทละ 12 แผน และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาฟิสิกส์ (ว 021) เรื่อง “การเคลี่อนที่” และ “มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่” ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยมีค่าระดับความยากระหว่าง 0.17 ถึง 0.82 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.18 ถึง 0.34 และค่าความเที่ยง 0.82 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำของกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนที่ใช้เกมสูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีสอนที่ไม่ใช้เกมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to compare the remedial physics learning achievement between mathayom suksa 4 students with low learning achievement, learning with games and without games. The sample were 48 mathayom suksa 4 science program students at Watnongchok School. Half of this sample was submitted as the experimental group, while another half was the control group. The research instruments were 12 lesson plans with learning games and without learning games for mathayom suksa 4 remedial physics class on the topics of : “Motions” and “Mass Force and Laws of Motion”, and a set of learning achievement tests. The tests had the value of difficulty between 0.17-0.82, the value of discrimination between 0.18-0.34 and its reliability was 0.82. T-test was administered for the data analysis. Finding :- Mathayom suksa four students learning with games had remedial physics learning achievement higher than the group learning without games.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการสอนซ่อมเสริมen_US
dc.subjectเกมทางการศึกษาen_US
dc.subjectฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สี่ ซึ่งมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำที่เรียนด้วยวิธีสอนที่ใช้เกม และไม่ใช้เกมen_US
dc.title.alternativeA comparison of remedial physics learning achievement between mathayom suksa four low achievement students learning with games and without gamesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPimpan.D@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rangsarid_ma_front.pdf2.16 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_ch1.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_ch2.pdf7.54 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_ch3.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_ch4.pdf686.12 kBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_ch5.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Rangsarid_ma_back.pdf26.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.