Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิภา ปรัชญพฤทธิ์en_US
dc.contributor.advisorอรรณพ พงษ์วาทen_US
dc.contributor.authorเชษฐภูมิ วรรณไพศาลen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialThailand
dc.date.accessioned2016-11-30T05:38:30Z
dc.date.available2016-11-30T05:38:30Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49878
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหาเกี่ยวกับการจัดการศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือของประเทศไทย 2) วิเคราะห์แนวปฏิบัติที่ดีที่ส่งเสริม การจัดการศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ และ 3) พัฒนาและตรวจสอบรูปแบบการจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วย นิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2557 จำนวน 356 คน ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือ จำนวน 11 แห่ง และ 33 คนที่เป็นตัวแทนของผู้บริหารสถาบัน ผู้อำนวยการกองพัฒนาคุณภาพนิสิตนักศึกษา และอาจารย์ผู้สอนกลุ่มละ 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที (t - test) และการทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มีความคาดหวังในการจัดการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกองค์ประกอบ 2) แนวปฏิบัติที่ดีที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มี 5 แนว ได้แก่ ศูนย์พหุวัฒนธรรม (Center for multicultural education) การออกแบบหลักสูตร (curriculum design) ความไวต่อวัฒนธรรมที่หลากหลาย (sensitivity to diverse culture) การดำรงอัตลักษณ์ของชาติ (preserve national identity) และนโยบายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (participative education provision policy) 3) รูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบด้วย 3.1) หลักการ คือ สถาบันอุดมศึกษาควรพัฒนานิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ตามแนวทางพหุวัฒนธรรมศึกษา 3.2) วัตถุประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงนโยบายสถาบันและการบริหาร การเปลี่ยนแปลงแนวทางการเรียนการสอน และการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน 3.3) 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การเรียนรู้แบบอิงเนื้อหา (content-based learning) การปรับเปลี่ยนให้เข้ากับความต้องการที่จำเพาะเจาะจง (adapting to specific needs) การถ่ายโอนความรู้ข้ามวัฒนธรรม (transferring intercultural knowledge) การหลอมรวมชุมชนนิสิตนักศึกษา (integrated student community) และการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม (participatory administration) 3.4) ผลลัพธ์ คือ รูปแบบการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอัตลักษณ์ที่เหมาะสมสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในบริบทสังคมโลกาภิวัตน์en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were 1) to analyze current conditions and problems of education management for ethnic students in higher education institutions in the Northern Region of Thailand, 2) to analyze best practices that promote education management for ethic groups, and 3) to develop and review education management approach for ethnic student groups. The sample group comprised 356 ethnic students, studying at their bachelor degree level, in the year 2014 and 33 samples, each representing the institutional executive group, the directors of the student quality development departments, and the faculty members from 11 higher education institutions. The research instruments were a questionnaire and an interview protocol. Statistics employed for analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test, and Chi-square test. The findings can be summarized as follows: 1) The students have, with a statistical significance, the expectation towards education management in all components. 2) There are 5 best practices for promoting education management for ethnic groups: Center for multicultural education, curriculum design, sensitivity to diverse culture, preserve national identity, and participative education provision policy. 3) An educational management model based on multicultural education for ethnic student groups in higher education institutions of Northern Region Thailand: 3.1) Principle: Higher education institutions should develop their ethnic student groups based on multicultural education approach 3.2) Three objectives: Change in institutional policy and administration, change instructional approaches, and social and community participation 3.3) Five elements of educational management model for ethnic student groups or CATIP model: Content-based learning, Adapting to specific needs, Transferring intercultural knowledge, Integrated student community, and Participatory administration 3.4) Result: An education management model that allows ethnic student groups to develop their personal identities which are suitable in the context of globalization societyen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1174-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนาการศึกษา
dc.subjectระบบการเรียนการสอน -- การออกแบบ
dc.subjectการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม -- ไทย (ภาคเหนือ)
dc.subjectEducation
dc.subjectInstructional systems -- Design
dc.subjectMulticultural education -- Thailand, Northern
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับนิสิตนักศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ในสถาบันอุดมศึกษาภาคเหนือen_US
dc.title.alternativeA development of an educational management model based on multicultural education for ethnic student groups in higher education institutions of Northern Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorApipa.P@Chula.ac.th,ApipaPrach@yahoo.com,apipaprach@yahoo.comen_US
dc.email.advisorannop.p@cmu.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1174-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5484268527.pdf7.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.