Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิมันต์ สุนทรไชยาen_US
dc.contributor.authorฐนิษฐา กลีบบัวen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:39:38Z
dc.date.available2016-11-30T05:39:38Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49934
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบบรรยายเชิงทำนาย มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความรุนแรงของอาการซึมเศร้า และปัจจัยที่สามารถร่วมกันทำนายความรุนแรงของอาการซึมเศร้า ในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมร่วมกับอาการซึมเศร้า กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคสมองสื่อมร่วมกับอาการซึมเศร้า อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 176 ราย ที่มารักษาแบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือวิจัยมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.80-1.00 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .80-.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียแมน สัมประสิทธ์สหสัมพันธ์คอนตินเจนซี และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกเชิงอันดับ ผลการวิจัย พบว่า 1. ความรุนแรงของอาการซึมเศร้า ในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมร่วมกับอาการซึมเศร้า อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 40.9 ปานกลาง ร้อยละ 30.1 และเล็กน้อย ร้อยละ 26.1 2. การเผชิญปัญหาแบบมุ่งปรับอารมณ์ มีความสัมพันธ์ทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (ρ = .299) 3. ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ความสามารถในการรู้คิด และ สัมพันธภาพในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (ρ = -.371, -.478, -.509, -.209, -.559 ตามลำดับ) 4. การเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ปัญหา เพศ อายุ และชนิดของโรคสมองเสื่อม ไม่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมร่วมกับอาการซึมเศร้า 5. ปัจจัยสัมพันธภาพในครอบครัว ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน และการเผชิญความเครียดแบบมุ่งปรับอารมณ์ สามารถร่วมกันทำนายความรุนแรงของอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมร่วมกับอาการซึมเศร้าได้ร้อยละ 95.2 (Nagelkerke R2=0.952, p < .05) สามารถสร้างสมการทำนายได้ดังนี้ y^ = -3.372+ 4.068 (สัมพันธภาพในครอบครัว) -2.157 (ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล) +1.678 (ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน) -1.517 (การเผชิญความเครียดแบบมุ่ง ปรับอารมณ์)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this predictive correlation research design was to examine the severity of depressive symptoms and related predicting factors. A sample of 176 patients with coexisting dementia and depressive symptoms, aged 60 years and older was recruited from the psychiatric out patients department, the tertiary hospitals. The CVI of Instruments was 0.80-1.00. The Reliability of Instruments was .80-.96. Data analysis were using by descriptive statistics, Spearman Rank Correlation, Contingency Coefficient and Ordinal logistic regression. Findings include: 1. The severity of depressive symptoms among persons with coexisting dementia and depressive symptoms was 40.9% at severe, 30.1% at moderate, and at 26.1% mild level. 2. Emotional- focus coping was positively significant correlated with severity of depressive symtoms at level of .05 (ρ =.260) 3. Self-esteem, interpersonal skill, family relationship, activity of daily living, and cognitive function was negatively significant correlated with severity of depressive symptoms at level of .05 (ρ = -.371, -.478, -.559, -.142, -.299, -.509 respectively) 4. problem- focus coping, Gender, aged and type of dementia had not correlated with severity of depressive symptoms. 5. Family relationship, activity of daily living, interpersonal skill, Emotional-focus coping were predictors of Severity of depressive symptoms approximately 95.2% (Nagelkerke R2=0.952, p < .05). as models y^ = -3.372+ 4.068 (family relationship) -2.157 (interpersonal skill) +1.687 (activity of daily) -1.517 (emotional-focus coping)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.744-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาวะสมองเสื่อม
dc.subjectโรคอัลไซเมอร์ -- ผู้ป่วย
dc.subjectความซึมเศร้า
dc.subjectโรคซึมเศร้า
dc.subjectDementia
dc.subjectAlzheimer's disease -- Patients
dc.subjectDepression
dc.subjectPsychotic depression
dc.titleปัจจัยทำนายความรุนแรงของอาการซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมที่มีอาการซึมเศร้าen_US
dc.title.alternativePredicting factors for severity on depressive symptoms among personswith coexisting dementia and depressive symptomsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorRangsiman.S@Chula.ac.th,srangsiman@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.744-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577303836.pdf9.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.