Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49999
Title: | Impurity removal from tin concentrate of Lao-Korea tin mine, Khammuan province, Lao PDR |
Other Titles: | การขจัดมลทินออกจากหัวแร่ดีบุกของเหมือง ลาว-เกาหลี แขวงคำมวน สปป.ลาว |
Authors: | Thongkham Souvanhnalath |
Advisors: | Pinyo Meechumna |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Pinyo.M@Chula.ac.th,fmnpmc@eng.chula.ac.th,fmnpmc@eng.chula.ac.th |
Subjects: | Tin mines and mining -- Laos Smelting เหมืองและการทำเหมืองแร่ดีบุก -- ลาว การถลุงแร่ |
Issue Date: | 2015 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | A process for the removal of impurities from tin concentrate of Lao-Korea tin mine has been developed. Wet Scrubbing of tin concentrate grading 23.23% Sn followed by wet high-intensity magnetic separation is a successful method of separation. The scrubbed and non-magnetic fraction obtained has been upgraded to be 60.00-61.51% Sn with 89.97-93.38% recovery. Weak acid scrubbing has also been tried and this can help reducing the scrubbing time. Screening of the scrubbed and non-magnetic fraction grading 60.90% Sn using 212 micron screen to classify this fraction into 2 size fractions (+212 micron and -212 micron size fractions) has been done. It has been found that the +212 micron size fraction has a higher grade of 70.32% Sn which can be a saleable tin concentrate. Whereas the -212 micron size fraction having a lower grade of 50.87% Sn needs to be further upgraded. Higher-tension separation is recommended to treat this -212 micron size fraction hoping to separate the non-conductor impurities of zircon and quartz from the conductor cassiterite with the saleable grade of about 70% Sn. |
Other Abstract: | การศึกษานี้ได้พัฒนากระบวนการขจัดมลทินออกจากหัวแร่ดีบุกของเหมืองแร่ลาว-เกาหลี โดยการนำเอาหัวแร่ดีบุกที่มีคุณภาพ 23.23% Sn นี้ มาทำการขัดสีแบบเปียก (Wet scrubbing) ก่อนการแยกด้วยเครื่องแยกแร่แม่เหล็กแบบเปียกความเข้มสูง หัวแร่ดีบุกที่ได้จากการแยกนี้มีคุณภาพระหว่าง 60.00 – 61.51% Sn โดยมีการเก็บคืนได้ (recovery) ระหว่าง 89.97 – 93.38% และได้มีการทดสอบการขัดสีแบบเปียกด้วยกรดอย่างอ่อนพบว่า สามารถช่วยลดระยะเวลาในการขัดสีแร่ลงไป เมื่อนำเอาหัวแร่ที่ผ่านการขัดสีและแยกแร่ด้วยเครื่องแยกแร่แม่เหล็กแบบเปียกความเข้มสูงที่มีคุณภาพ 60.90% Sn มาทำการคัดขนาดด้วยตะแกรงที่มีขนาดรูตะแกรง 212 ไมครอน ทำให้สามารถแยกได้ออกเป็น 2 ขนาด คือขนาดที่ใหญ่กว่า 212 ไมครอน (+212 ไมครอน) และขนาดที่เล็กกว่า 212 ไมครอน (-212 ไมครอน) และได้พบว่าขนาดที่ใหญ่กว่า 212 ไมครอน มีคุณภาพสูงขึ้นคือ 70.32% Sn ซึ่งนำไปจำหน่ายให้แก่โรงถลุงดีบุกได้ ในขณะที่ขนาดที่เล็กกว่า 212 ไมครอน มีคุณภาพต่ำกว่าคือ 50.87% Sn ซึ่งแนะนำให้เอาขนาดที่เล็กกว่า 212 ไมครอนนี้ ไปแยกด้วยเครื่องแยกแร่ไฟฟ้าแรงสูง (High-tension Separator) เพื่อทำการแยกแร่มลทินที่ไม่นำไฟฟ้าคือแร่เซอร์คอนและแร่ควอทซ์ ออกจากแร่ดีบุกแคสซิเทอไรต์ที่ไม่นำไฟฟ้า และคาดว่าหัวแร่ดีบุกที่ได้จากการแยกด้วยวิธีนี้จะมีคุณภาพสูงขึ้นประมาณ 70% Sn ซึ่งจะสามารถจำหน่ายให้แก่โรงถลุงดีบุกได้ |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2015 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Georesources Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49999 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.214 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2015.214 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670492521.pdf | 2.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.