Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorญาใจ ลิ่มปิยะกรณ์en_US
dc.contributor.authorเกรียงไกร พงษ์พันธุ์จันทราen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-11-30T05:41:41Z
dc.date.available2016-11-30T05:41:41Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50038
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractเว็บศูนย์รวมได้ถูกออกแบบเป็นทางเข้าออกของการเชื่อมต่อสารสนเทศและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต อย่างไรก็ตาม การออกแบบของเว็บศูนย์รวมมีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงความต้องการและโดเมนธุรกิจที่เกิดบ่อย งานวิจัยนี้จึงได้นำเสนอแนวทางอิงแบบจำลองในการสร้างเว็บศูนย์รวมแบบอัตโนมัติบนพื้นฐานของการจำลองแบบคลาส โดยแบบจำลองหลักของการออกแบบประกอบด้วย แบบจำลองทางความคิด แบบจำลองนำทาง เเละแบบจำลองการนำเสนอ การจำแนกประเภทแบบจำลองลักษณะดังกล่าวจะช่วยให้เห็นความเชื่อมโยงขององค์ประกอบของการสร้างเว็บได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ ความสำคัญของแบบจำลองทางความคิดที่ถูกสร้างขึ้นโดยปราศจากมุมมองของการนำทางและการนำเสนอจะสามารถลดค่าใช้จ่ายการพัฒนาเว็บศูนย์รวมอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงได้ การสร้างเมตาโมเดลของการนำทางและการนำเสนอแบบอัตโนมัติและเชื่อมต่อเข้ากับเค้าโครงแม่แบบด้วยระบบที่พัฒนาขึ้นจะเป็นโซลูชันที่สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายสำหรับการพัฒนาเว็บศูนย์รวมได้ นอกจากนี้ งานวิจัยยังได้ประยุกต์ใช้กรอบงานแองกูลาเจเอส ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการออกแบบโครงสร้างบนพื้นฐานการออกแบบตามหลักการเว็บวิศวกรรมเเละการกำหนดแม่แบบด้วยแบบจำลอง เพื่อลดขั้นตอนของการพัฒนาเว็บศูนย์รวมที่มีคุณลักษณะหรือประเภทที่เเตกต่างหรือมีความหลากหลายen_US
dc.description.abstractalternativeA web portal is designed as a gateway to provide internet information and services. However, the design of web portals is subject to the frequent change of requirements and business domain. This research presents a model-based approach to automating the construction of web portals on the basis of class modeling. The core design models are classified into the conceptual model, the navigation model, and the presentation model that would clearly visualize the linkage among the components of the web being created. The essence that the conceptual model is created by ignoring all the aspects regarding navigation and presentation could reduce the cost of web portal development due to changes. Automated creation of navigation and presentation metamodels and binding them with layout templates via the implemented system would be an economical solution for web portal development. In addition, this research has applied the AngularJS framework, which is the technology for the structural design based on the principle of web engineering and stereotype template, for reducing the development steps of web portals with various containment categories or properties.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1330-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเว็บพอร์ทัล
dc.subjectการพัฒนาเว็บไซต์
dc.subjectWeb portals
dc.subjectWeb site development
dc.titleแนวทางอิงแบบจำลองในการสร้างเว็บศูนย์รวมen_US
dc.title.alternativeModel-based approach to generating web portalsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorYachai.L@Chula.ac.th,limpyac@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1330-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5671038521.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.