Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50526
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorYingyos Avihingsanonen_US
dc.contributor.authorThanarat Supasirien_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Medicineen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:09:13Z
dc.date.available2016-12-01T08:09:13Z
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50526
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2015en_US
dc.description.abstractBackground: Both patient and renal survival in lupus nephritis depend mainly on treatment response. Early management increase remission rate and improve renal survival. Objective: To demonstrate the better renal remission by the early non-invasive biomarkers testing compared to the conventional approach. Material and method: patients who met proteinuric or nephritic flare criteria were recruited. Biomarker group (N=14) used urine IP-10 to guide treatment. Induction immunosuppression was initiated without waiting for renal pathology. Whereas in the historical cohort (conventional group, N=26) induction therapy was initiated based on renal biopsy results. Primary outcome was overall renal remission. Secondary outcomes were time to remission, adverse event and immunosuppressive dosage Results: The HR of overall renal remission in biomarker group compared to conventional group was 1.23 (95% 0.57-2.67; P=0.595). The mean steroid dosage was 13.1±6.8 vs. 20.7±9.1 P=0.015 and the median time from renal flare to renal remission was 16 weeks (95%CI 9.89-22.1 weeks) vs. 25 weeks (95% CI 13.8-36.2 weeks) in biomarker arm vs. conventional arm respectively. Conclusion: Using urinary IP-10 as LN biomarker couldn’t show better overall renal remission, but can shorten time from renal flare to renal response and decrease net prednisolone dosage. Further larger study is needed to confirm this results.en_US
dc.description.abstractalternativeที่มา: โรคไตอักเสบลูปัสมีความรุนแรง นำไปสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้ายได้ การพยากรณ์โรคขึ้นกับผลลัพธ์การรักษา การเริ่มการรักษาที่เหมาะสมโดยรวดเร็ว ทำให้ผลลัพธ์การรักษาดีขึ้น วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาว่าการใช้วิธีการตรวจเครื่องหมายชีวภาพในเซลล์จากปัสสาวะ สามารถเริ่มให้การรักษาการกำเริบโรคไตอักเสบลูปัสได้อย่างรวดเร็ว อันนำไปสู่ผลลัพธ์การรักษาที่ดีขึ้น วิธีการศึกษา: แบ่งการศึกษาเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นการศึกษาแบบไปข้างหน้า ในผู้ป่วยโรคไตอักเสบลูปัส (N=14) โดยส่งตรวจสารชีวภาพจากเซลล์ในปัสสาวะ (Interferon Inducible Protein 10; IP-10) หากผลเป็นบวกจะเริ่มให้การรักษาด้วยยากดภูมิทันที เปรียบเทียบกับผู้ป่วยอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย (N=26) โดยการรักษาด้วยยากดภูมิมักจะเริ่มในภายหลังจากที่เห็นผลพยาธิวิทยาชิ้นเนื้อไตแล้ว ผลการศึกษาหลักคือการเปรียบเทียบอัตราการหายของโรคระหว่างสองกลุ่ม ผลการศึกษารองคือการเปรียบเทียบปริมาณยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ อัตราการติดเชื้อ ผลข้างเคียงจากยา ผลการศึกษา: ผู้ป่วยในกลุ่มที่ใช้การตรวจสารชีวภาพในปัสสาวะมีอัตราการหายของโรคสูงเป็น 1.23 เท่า (ค่าความเชื่อมั่น 95% 0.57-2.67; P=0.595) มีการใช้ยาเพรดนิโซโลนในขนาดที่น้อยกว่า (13.1±6.8 vs. 20.7±9.1 มิลลิกรัมต่อวัน P=0.010) และระยะเวลาตั้งแต่โรคกำเริบจนหายจากโรคในกลุ่มที่ใช้การตรวจสารชีวภาพในปัสสาวะ เร็วกว่าอีกกลุ่ม (ค่ามัธยฐานเวลา 16 สัปดาห์ [ค่าความเชี่อมั่น 95% 9.89-22.1 สัปดาห์] เปรียบเทียบกับ 25 สัปดาห์ [ค่าความเชื่อมั่น 95% 13.8-36.2 สัปดาห์] ) สรุปผล: การตรวจสารชีวภาพ (IP-10) ในปัสสาวะ ยังไม่สามารถแสดงประสิทธิภาพในการเพิ่มอัตราการหายของโรคไตอักเสบลูปัส แต่สามารถลดระยะเวลาที่มีไตอักเสบและลดขนาดยาสเตียรอยด์ลงได้ ควรมีงานวิจัยขนาดใหญ่เพื่อยืนยันความแม่นยำต่อไปen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.282-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectKidneys -- Diseases -- Treatment
dc.subjectLupus nephritis
dc.subjectไต -- โรค -- การรักษา
dc.subjectไตอักเสบลูปัส
dc.titleUrinary cellular biomarkers as an early diagnostic test for treatment of active lupus nephritis compare with kidney biopsy guided therapyen_US
dc.title.alternativeการตรวจเครื่องหมายชีวภาพในเซลล์จากปัสสาวะ เพื่อการวินิจฉัยและรักษาการกำเริบของโรคไตอักเสบลูปุสเปรียบเทียบกับการวินิจฉัยและรักษาโดยการเจาะชิ้นเนื้อไตen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedicineen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorYingyos.A@Chula.ac.th,yingyos.a@gmail.com,yingyos.a@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.282-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5774031730.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.