Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5095
Title: วงจรเรียงกระแส 3 เฟสที่มีตัวประกอบกำลังด้านเข้าสูงโดยใช้เทคนิคอินเตอร์ลีฟ
Other Titles: A three-phase interleaved high power factor rectifier
Authors: จักรพงษ์ วงศาสุลักษณ์
Advisors: สมบูรณ์ แสงวงค์วาณิชย์
โคทม อารียา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: somboona@chula.ac.th
gothom@bbs.itrd.chula.edu
Subjects: วงจรอิเล็กทรอนิกส์
วงจรเรียงกระแสแบบวิธีสวิตซ์
Issue Date: 2542
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอแนวทางในการวิเคราะห์วงจรเรียงกระแสสามเฟสที่มีตัวประกอบกำลังด้านเข้าสูง ซึ่งเป็นวงจรทบระดับที่ทำงานในโหมดกระแสไม่ต่อเนื่องและมีโครงสร้างแบบสวิตช์สองตัว จุดเด่นของวงจรนี้คือ 1) มีการควบคุมที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน 2) สามารถลดระดับของแรงดันไฟตรงขาออก โดยที่กระแสด้านเข้ายังมีรูปร่างใกล้เคียงไซน์ 3) สามารถใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลังแบบแพคเกจ และผู้วิจัยยังได้นำเสนอการประยุกต์ใช้เทคนิคอินเตอร์ลีฟซึ่งมีข้อดีคือ 1) ทำให้ค่าระลอกของกระแสด้านเข้าลดลง 2) ความถี่ของระลอกเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า เพื่อลดขนาดของวงจรกรองด้านเข้า และ 3) สามารถทำการแยกโดดเพื่อปรับค่าของแรงดันไฟตรงขาออกตามต้องการได้ ผลการจำลองการทำงานและผลการทดลองยืนยันถึงความถูกต้องของแนวคิดที่นำเสนอ และวงจรที่นำเสนอมีค่ากระแสฮาร์มอนิกส์ที่อันดับต่างๆ ไม่เกินค่าที่กำหนดตามมาตรฐาน IEC 61000-3-2 Class A
Other Abstract: This thesis presents an analysis of a three-phase high power factor rectifier whose topology is of a boost-type working in discontinuous current mode and using only two switches. This rectifier circuit has many advantages : 1) the control strategy is simple, 2) the DC bus voltage can be reduced while an input line current is still approximately sinusoidal, and 3) module power devices can be used. The interleaved technique is also introduced whose main features are: 1) the ripple component in the line current is smaller, 2) the current ripple frequency is twice thus reducing the size of input filter, and 3) an isolated transform can be added to adjust the dc output voltage to a desired level. Simulation and experimental results are given, they confirm the validity of the proposed concept and prove that the line current harmonics are conformed to IEC 61000-3-2 Class A standard.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5095
ISBN: 9743331026
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jakrapong.pdf3.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.