Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนงค์นาฏ เถกิงวิทย์-
dc.contributor.advisorอาณัติ หมานสนิท-
dc.contributor.authorนาฏเฉลียว ชมธรณินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-12-25T03:21:14Z-
dc.date.available2007-12-25T03:21:14Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741704577-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาอิทธิพลของศาสนาอิสลามที่มีต่อ ค่านิยม สิทธิ หน้าที่ บทบาท สถานภาพของสตรีมุสลิมและทัศนคติของผู้เขียนในนวนิยายมาเลย์เรื่อง ซาลีนา (Salina) ของ เอ ซาหมัด ไซด์ (A.Samad Said) โน ฮาร์เวสต์ บัด อะ ทอร์น (No Harvest But a Thorn) ของ ชาห์นน อาหมัด (Shahnon Ahmad) และ ซากา (Saga) ของ อับดุลตาลิบ มูฮัมหมัดฮัสซัน (Abdul Talib Mohammad Hassan) ผลการศึกษาพบว่าศาสนาอิสลามมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต ของสตรีมุสลิมในนวนิยายทั้งสามเรื่องทั้งในฐานะมารดา ภรรยาและบุตรี ผู้ประพันธ์วิพากษ์วิจารณ์ลักษณะสังคม การดำเนินชีวิตของตัวละครสตรีในเรื่อง ซึ่งไม่ปฏิบัติตัวตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม ผลของการไม่ปฏิบัติตามทำให้สตรีพบกับปัญหาทั้งในด้านชีวิตส่วนตัว ครอบครัวและสังคมที่สตรีมีส่วนเกี่ยวข้อง สตรีต่างก็ตระหนักดีถึงความขัดแย้งที่พวกเธอเผชิญ คือ ความขัดแย้งระหว่างความเป็นจริงที่พวกเธอประสบกับคำสอนในศาสนาอิสลาม ตลอดไปจนถึงสิ่งที่สังคมปรารถนาและคาดหวังให้พวกเธอปฏิบัติ ซึ่งการคาดหวังของสังคมเป็นอุปสรรคหนึ่งของการดำรงชีวิต เป็นผู้หญิงที่ดีของสตรี นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ต้องการแสดงให้เห็นว่า แท้จริงศาสนาอิสลามให้ความสำคัญแก่สตรี เพราะสตรีเป็นรากฐานสำคัญในการสร้างครอบครัว สร้างสมาชิกที่ดีของสังคม ดังนั้นอิสลามจึงเอื้อให้ สตรีมีสิทธิ หน้าที่ บทบาทและสถานภาพที่เท่าเทียมกันกับบุรุษทุกประการ แต่การที่บุรุษเอาเปรียบสตรี ก็เนื่องมาจากการที่สังคมถูกครอบงำโดยเพศชายทำให้สตรีด้อยกว่าบุรุษen
dc.description.abstractalternativeTo study the influence of Islam on values, rights, duties, and statuses of Islamic women and authorial attitudes toward these matters in three Malay novels: Salina by A. Samad Said, No Harvest But a Thorn by Shahnon Ahmad and Saga by Abdul Talib Mohammad Hassan. The analysis of the three novels shows that Islam has great influence on the lives of muslim women in their roles of mothers, wives or daughters. In these stories, the three authors criticize the Malay society and the women characters who do not conform to the principles and teaching of Islam. As a result of their disobedience, these women have to encounter troubles in their personal lives, families and society. It is found that the protagonist of each novel is aware of the conflict between her real-life experience and Islamic teaching as well as the social expectations imposed upon women, which have been significant obstacles to the improvement of women's well-being. The study of these novels reveals that the three authors' common aim is to show that the Muslim religion actually gives much importance to women, who are considered vital foundations in building family and creating desirable social members. However, in practice, women have been taken advantage of and exploited by men because the society they live in have been dominated by patriarchal ideology which brings about and maintains the subjection of women to menen
dc.format.extent1514148 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.348-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectศาสนาอิสลามen
dc.subjectสตรีมุสลิมen
dc.subjectนวนิยายมาเลย์en
dc.titleสตรีกับศาสนาอิสลามในนวนิยายมาเลย์en
dc.title.alternativeWomen and Islam in Malay novelsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวรรณคดีเปรียบเทียบes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAnongnart.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.348-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NatchaleoChom.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.