Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51236
Title: Corporate Social Responsibility in the Sugarcane Industry and Its Implications on Sustainable Development : A Case Study of Mitr Phol Sugar Corporation’s CSR Policy and Practice in Suphanburi Province, Thailand
Other Titles: ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรในอุตสาหกรรมอ้อย และความหมายที่มีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : กรณีศึกษาความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร และนโยบายการปฏิบัติของบริษัทน้ำตาลมิตรผล จังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย
Authors: Colin Morgan Carpenter
Advisors: Ake Tangsupvattana
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Political Science
Advisor's Email: Ake.T@Chula.ac.th,ake.t@chula.ac.th
Subjects: Social responsibility of business -- Thailand
Sustainable development
Sugarcane industry
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ -- ไทย
อุตสาหกรรมน้ำตาลอ้อย
การพัฒนาแบบยั่งยืน
Issue Date: 2015
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This paper investigates Mitr Phol’s Sugar Company’s engagement with CSR policy and practice and its contribution to sustainable development within a farming community. The study examines the firm’s CSR motivation, and how this integrates concepts of stakeholder engagement and mitigates impacts on the environment. This topic was chosen to highlight Mitr Phol’s aim to address sustainability issues through dialogue and the empowerment of stakeholder communities. A qualitative case study approach was applied and involved interviewing key executives and managers, as well as conducting focus groups with community elders from municipal villages. The adaptation of corporate social performance (CSP) models and sustainable development frameworks shed light on the responsibility, responsiveness and outcome of CSR practice and its ramification on the community. It is revealed that CSR policy and practice are formulated at managerial levels and primarily focus on constructive engagements with stakeholders and commitments towards environmental sustainability. Mitr Phol does not merely aim to identify issues in the community, but strives towards building the capacity and knowledge of stakeholders, so they can actualize their own development initiatives. The firm practices balanced sustainability and acknowledges that it can only maintain natural capital to a certain degree. As a transnational economic agent, the company endeavors to integrate CSR throughout the company’s core competencies. The results of this study are useful for companies engaging in CSR.
Other Abstract: งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสำรวจความสัมพันธ์ของ บริษัท น้ำตาลมิตรผล กับนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการปฏิบัติและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยืนภายในชุมชนเกษตรกรรมในจังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย งานวิจัยนี้จะตรวจสอบปัจจัยที่เป็นแรงผลักดันทั้งที่มาจากในประเทศและข้ามประเทศที่มีต่อความมุ่งมั่นรับผิดชอบต่อสังคมและค้นหาคำตอบว่าสิ่งนี้จะบูรณาการแนวคิดการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร และมีการช่วยลดผลกระทบต่อการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างไร อุตสาหกรรมการเกษตรระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยวก่อให้เกิดความเสียหายในระบบนิเวศ ดังนั้น หัวข้อนี้จึงถูกเลือกเพื่อที่จะเน้นย้ำถึงจุดมุ่งหมายของบริษัทมิตรผลในการแก้ไขปัญหาเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืนผ่านการเจรจาและการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เหล่านี้ กรณีศึกษาเชิงคุณภาพจึงถูกนำมาปรับใช้ รวมไปถึงการสัมภาษณ์ผู้บริหารที่สำคัญและผู้จัดการ ในขณะที่มีการดำเนินการสนทนากับกลุ่มผู้สูงอายุของชุมชนจากหมู่บ้านต่างๆในเขตเทศบาลเมืองอีกด้วย การปรับใช้โมเดลการปฏิบัติต่อสังคมขององค์กร (CSP) และเค้าโครงหรือกรอบของการพัฒนาที่ยั่งยืนจะช่วยให้ความกระจ่างในแง่ของความรับผิดชอบ ระดับของการตอบสนองและผลของการลงมือปฏิบัติใดๆ ที่เป็นความรับผิดชอบต่อสังคมรวมไปถึงผลที่แผ่ขยายไปในชุมชน งานวิจัยนี้เผยว่านโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและการปฏิบัตินั้นจะถูกพัฒนาขึ้นในระดับของผู้บริหารและมุ่งเน้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในเชิงบูรณาการกับผู้มีส่วนได้เสียและภาระผูกพันที่มีต่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม บริษัท มิตรผลไม่เพียงแต่จะมุ่งหมายเพื่อระบุถึงปัญหาที่มีอยู่ในชุมชน แต่มุ่งมั่นที่จะปลูกฝังความสามารถและความรู้ของผู้มีส่วนได้เสียเพื่อให้พวกเขาสามารถทำให้การริเริ่มการพัฒนาของตัวเองนั้นเกิดเป็นความจริงขึ้นมาได้ บริษัทมีการรักษาความสมดุลแบบยั่งยืนและต้องยอมรับว่าจะสามารถรักษาทุนทางธรรมชาติได้แค่ในระดับหนึ่งเท่านั้น นอกจากนี้ ตามแนวทางมาตรฐาน ISO 26000 ถือเป็นพื้นฐานสำหรับการแสดงภาระหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสังคมแบบสมัครใจ ในฐานะที่บริษัทมีความเป็นตัวแทนทางเศรษฐกิจข้ามชาติ บริษัทจึงมีความประสงค์ ที่จะบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมผ่านความสามารถหลักของบริษัท และปรารถนาที่จะดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับสากล หากกล่าวถึงประโยชน์ของรายงานฉบับบนี้ในเชิงการนำไปเป็นเครื่องมือในการปฏิบัตินั้น ผลของการศึกษาครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับบริษัทที่มีส่วนร่วมในการดำเนินการทางด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องที่เกี่ยวกับการนำการพัฒนาที่ยั่งยืนไปใช้ และความก้าวหน้าของชุมชนผู้มีส่วนได้เสีย
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2015
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Development Studies
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51236
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.342
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2015.342
Type: Thesis
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5581102524.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.