Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51578
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันล่า กุลวิชิต-
dc.contributor.advisorอริยา จินดามพร-
dc.contributor.authorนนทลี ทองสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-01-30T01:30:12Z-
dc.date.available2017-01-30T01:30:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51578-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. )--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractที่มา เชื้อราคริปโตคอคคัส นีโอฟอร์แมน ที่ก่อให้เกิดภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบมีอัตราการเสียชีวิตที่สูง ยาที่ใช้ในการรักษาของไทยประกอบด้วยยาแอมโฟเทอริซิน บี และยาฟลูโคนาโซล โดยข้อมูลเกี่ยวกับความไวของเชื้อราต่อยายังมีน้อยมาก เนื่องจากการทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อรายังไม่แพร่หลาย การศึกษานี้มุ่งทดสอบความไวของเชื้อราคริปโตคอคคัส นีโอฟอร์แมนต่อยาแอมโฟเทอริซิน บี และยาฟลูโคนาโซล และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความไวต่อยาต้านเชื้อรากับผลของการรักษาที่ 10 สัปดาห์ วิธีการศึกษา นำเชื้อราคริปโตคอคคัส นีโอฟอร์แมน ที่เพาะเชื้อขึ้นจากผู้ป่วยระหว่างปี พ.ศ. 2553-2554 มาทำการทดสอบความไวต่อยาต้านเชื้อราแอมโฟเทอริซิน บี และยาฟลูโคนาโซลด้วยวิธีบรอท ไมโครไดลูชั่น และเก็บข้อมูลทั่วไป ประวัติการเจ็บป่วย ยาที่ใช้รักษา ผลการเพาะเชื้อซ้ำที่ 2 สัปดาห์ รวมถึงผลของการรักษาที่ 10 สัปดาห์ ผลการศึกษา เชื้อราคริปโตคอคคัส นีโอฟอร์แมนทำการทดสอบความไวทั้งหมด 21 เชื้อ เชื้อราทั้งหมดมีค่า MIC ต่อ fluconazole อยู่ที่ 8 microgram/ml. และมีค่า MIC ต่อ amphotericin B อยู่ที่ 0.5-1 microgram/ml. โดยมีอัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ร้อยละ 33.3 สรุปผลการศึกษา เชื้อคริปโตคอคคัส นีโอฟอร์แมนทั้งหมดมีความไวต่อยา fluconazole และ amphotericin B โดยไม่สามารถบอกความสัมพันธ์ระหว่างการค่า MIC กับผลของการรักษาที่ 10 สัปดาห์ได้en_US
dc.description.abstractalternativeBackground Cryptococcus neoformans is a fungus caused wide spectrum of diseases including meningitis. Cryptococcal meningitis has high mortality rate. In Thailand, key drugs for treatment of cryptococcal meningitis are amphotericin B and fluconazole. Antifungal susceptibility testing is not widely used in Thailand. This study mainly test antifungal susceptibilities of Cryptococcus neoformans to amphotericin B and fluconazole. Methods Subcultured Cryptococcus neoformans that was kept in refrigerator during 2010-2011. Incubated into microplate that contained RPMI 1640 medium and antifungal agent using broth microdilution technique. Recorded MIC of Cryptococcus neoformans and clinical data including outcome of treatment at 10 weeks after diagnosis. Results 21 Cryptococcus neoformans were tested for antifungal susceptibilities using broth microdilution. The MIC values of all C. neoformans isolates for fluconazole were 8 microgram/ml. The MIC values of C. neoformans for amphotericin B ranged from 0.5-1 microgram/ml. The 10-week mortality rate was 33.3 percent. Conclusions All C. neoformans isolates were susceptible to fluconazole and amphotericin B. We cannot identify the relationships between the MIC values and the mortality rate.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2070-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเยื่อหุ้มสมองอักเสบen_US
dc.subjectเชื้อราก่อโรคen_US
dc.titleความไวต่อยาต้านเชื้อราของเชื้อคริปโตคอคคัสนีโอฟอร์แมนที่ทดสอบด้วยวิธีบรอทไมโครไดลูชั่นและผลการรักษาen_US
dc.title.alternativeAntifungal susceptibilities using broth microdilution of cryptococcus neoformans and clinical outcomeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorAriya.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2070-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nontalee_th.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.