Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศ-
dc.contributor.authorสุคนธ์ทิพย์ เพิ่มศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-02T04:39:47Z-
dc.date.available2017-02-02T04:39:47Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51628-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาปัญหาเศษตัดริมกระดาษ ในขั้นตอนวางแผนแปรรูปของโรงงานผลิตกระดาษแห่งหนึ่ง ซึ่งมีเครื่องจักรสำหรับแปรรูปที่แตกต่างกันสามเครื่อง คือ เครื่องกรอม้วน และเครื่องตัดแผ่นสองเครื่อง ปัญหาที่ทำการศึกษาคือการเลือกรูปแบบการตัด และความยาวของรูปแบบการตัด สำหรับแปรรูปม้วนวัตถุดิบขนาดใหญ่ให้กลายเป็นม้วนวัตถุดิบขนาดเล็กหรือกระดาษตัดแผ่น เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า วิธีการหาคำตอบจะใช้โปรแกรมเชิงเส้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการแปรรูปน้อยที่สุด แต่รูปแบบสมการที่สร้างขึ้นมาอยู่ในรูปแบบ Non-convex mixed integer non -linear programming (MINLP) เนื่องจากมีสมการวัตถุประสงค์และสมการข้อจำกัดบางข้อที่ไม่เป็นเส้นตรง จึงใช้วิธีการ 2 ขั้นตอนในการแปลงให้กลายเป็น Convex mixed integer linear programming (MILP) โดยในขั้นตอนแรกจะสร้างรูปแบบการตัดที่เป็นไปได้ เพื่อทำให้รูปแบบการตัดที่เป็นตัวแปรตัดสินใจกลายเป็นตัวแปรที่ทราบค่า จากนั้นจึงนำเข้าสู่การหาคำตอบด้วยโปรแกรมเชิงเส้น นอกจากนี้ในส่วนของการแปรรูปกระดาษตัดแผ่น ที่มีเครื่องจักรในการแปรรูปสองเครื่อง จะใช้วิธีการฮิวริสติกในการจัดสรรผลิตภัณฑ์เข้าแปรรูป เพื่อลดการใช้เครื่องจักรใดเครื่องจักรหนึ่งจนเกินกำลังการผลิต โดยผลจากการใช้วิธีการหาคำตอบของเศษตัดริมกระดาษด้วยโปรแกรมเชิงเส้น ร่วมกับวิธีฮิวริสติกในการจัดสรรผลิตภัณฑ์เข้าแปรรูป จะลดความสูญเสียในการแปรรูปกระดาษกรอม้วนได้ 49.33 % และกระดาษตัดแผ่นได้ 28.19% หรือคิดเป็นมูลค่าที่ลดลงได้เฉลี่ย 900,000 บาทต่อเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีปัจจุบันที่ใช้ประสบการณ์ของพนักงานวางแผนแปรรูป และลดเวลาในการวางแผนแปรรูปรายสัปดาห์เหลือเพียง 3 ชั่วโมง จากเดิมที่ใช้เวลาเฉลี่ย 8 ชั่วโมงต่อการวางแผนแปรรูปแต่ละครั้งen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis propose trim loss solution method in paper converting process in a paper mill which have three difference converting machines, one cutting roll machine and two cutting sheet machines. The problems is select cutting patterns and determine cutting length of converting small roll and sheet from large raw paper roll for satisfying customer orders. The solution method use linear programming model to minimizing paper loss in converting process, however the objective function and some constraints are in bilinear term but the problem can solve by use two step procedure to transform non-convex mixed integer non -linear programming (MINLP) to mixed integer linear programming (MILP). In first step all feasible cutting patterns will be generating to replace decision variable in bilinear terms and second step, input the feasible cutting patterns to minimize paper loss. For the two cutting sheet machines applied heuristic procedure assign product groups to each machine, in order to minimize machine over capacity. Computational results instances show that the propose solution method outperforms manual method by reducing paper loss 49.33 % in cutting roll converting process and 28.19% in cutting sheet converting process, corresponding to 900,000 baht of monthly cost reduction and reducing weekly converting planning time from 8 hours to 3 hours per timesen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2084-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectการวางแผนการผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมกระดาษen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.subjectProduction planningen_US
dc.subjectPaper industryen_US
dc.titleวิธีการหาคำตอบสำหรับปัญหาเศษตัดริมในโรงงานกระดาษen_US
dc.title.alternativeSolution method for trim loss problems in a paper millen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWipawee.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2084-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sukonthip_pu.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.