Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorSiriporn Jongpatiwut-
dc.contributor.authorSomchai Osuwan-
dc.contributor.authorThirasak Rirksomboon-
dc.contributor.authorชมพูนุท พึ่งกลั่น-
dc.date.accessioned2017-02-23T10:21:02Z-
dc.date.available2017-02-23T10:21:02Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52043-
dc.description.abstractFrom previous studies, Sn-promoted Pt/KL prepared by vapor-phase co-impregnation exhibited high stability and selectivity to C8-aromatics for n-octane aromatization. Although the Pt/KL has many benefits, one of the serious drawbacks is its sensitivity to sulfur poisoning. Based on previous investigations, the addition of rare earth elements (RE; e.g. Tm, Ce, and Dy) into Pt/KL could improve sulfur tolerance of the catalysts. In this work, the sulfur resistance of PtSn/KL and RE-promoted PtSn/KL has been studied. PtSnRE/KL catalysts with Pt:Sn:RE ratio of 1:1:0.15 were prepared by sequential RE, then co-PtSn impregnation. The catalysts were characterized by TPR, TPO, H₂ chemisorptions, and TEM. The reaction was carried out at 500°C and atmospheric pressure. The results showed that the activity and selectivity obtained with sulfur-containing feed was lower than those obtained with clean feed. In the presence of sulfur, PtSnRE/KL demonstrated higher conversion than Pt/KL and PtSn/KL, while the selectivity was not significantly improved. TPR profiles show the rupture of Pt-Sn alloy after exposing to sulfur. Even though TEM image showed higher distributed metal clusters on Pt/Sn/KL and PtSnRE/KL, they exhibited much lower H₂ chemisorptions which could be because Sn partially covered the platinum surface or modified electronic property resulted in low H₂ adsorption.en_US
dc.description.abstractalternativeจากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าการเติมโลหะดีบุกลงบนตัวเร่งปฏิกิริยาแพลททินัมบนซีโอไลต์แอล (PtSn/KL) ซึ่งเตรียมสารตัวอย่างโดยวิธีการระเหิดสารประกอบแพลททินัมและดีบุกเข้าไปยังโพรงซีโอไลต์พร้อมกันมีความเสถียรและความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์อะโรมาติกซ์ที่มีอะตอมคาร์บอน 8 อะตอมสูงสำหรับปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มัลออกเทน ถึงแม้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยา Pt/KL จะมีข้อดีมากมาย แต่หนึ่งในข้อเสียที่สำคัญคือความว่องไวต่อการเป็นพิษของซัลเฟอร์ จากการศึกษาก่อนหน้าพบว่าการเติมธาตุหายาก (Rare earch: RE) เช่น ทูเลียม ซีเรียม และดิพโพเซียมลงบน Pt/KL น่าจะเพิ่มความทนทานต่อการเป็นพิษของซัลเฟอร์ของตัวเร่งปฏิกิริยาได้ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงศึกษาความต้านทานต่อซัลเฟอร์ของตัวเร่งปฏิกิริยา PtSn/KL แบบที่มีและไม่มีการเติมธาตุหายากลงบนตัวเร่งปฏิกิริยานี้ (PtSnRE/KL) ตัวเร่งปฏิกิริยา PtSnRE/KL ที่มีสัดส่วนสารเคมี Pt:Sn:RE เท่ากับ 1:1:0.15 ถูกเตรียมโดยวิธีการระเหิดสารประกอบธาตุหายากบนซีโอไลต์ KL ก่อน และตามด้วยการระเหิดสารผสมแพลททินัมและดีบุกเข้าไปพร้อมกัน ตัวเร่งปฏิกิริยาถูกวิเคราะห์หาคุณสมบัติด้วยเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ ความสามารถในการดูดซับแก๊สไฮโดรเจน TPR TPO และ TEM การทดสอบตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับการเร่งปฏิกิริยาอะโรมาไทเซชันของนอร์มอลออกเทนทำที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส และที่ความดันบรรยากาศ ผลการทดลองพบว่าความสามารถในการเกิดปฏิกิริยาและความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารตั้งต้นที่เติมซัลเฟอร์ต่ำกว่าสารตั้งต้นที่ไม่มีซัลเฟอร์ การที่มีซัลเฟอร์ปรากฏอยู่ทำให้ปฏิกิริยา PtSnRE/KL มีการเปลี่ยนแปลงจากสารตั้งต้นไปเป็นผลิตภัณฑ์สูงกว่า Pt/KL และ PtSn/KL ในขณะที่ความเลือกเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ไม่ได้ดีขึ้นอย่างชัดเจน รูปโครงร่างของ TPR แสดงให้เห็นถึงการแยกออกจากกันของอัลลอยด์ Pt-Sn เมื่อสารตั้งต้นมีซัลเฟอร์ เจือถึงแม้ว่ารูปของ TEM เปิดเผยถึงการกระจายตัวอย่างสูงของกลุ่มโลหะบน PtSn/KL และ PtSnRE/KL แต่จากการศึกษาความสามารถในการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนพบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสองตัวมีการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนที่ต่ำ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการที่ดีบุกปกคลุมลงบนผิวหน้าของแพลททินัมส่งผลให้มีการดูดซับแก๊สไฮโดรเจนต่ำลงen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectAromatic compoundsen_US
dc.subjectCatalystsen_US
dc.subjectPlatinum catalystsen_US
dc.subjectZeolitesen_US
dc.subjectสารประกอบอะโรมาติกen_US
dc.subjectซีโอไลต์en_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen_US
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาแพลทินัมen_US
dc.titlen-alkane aromatization over modified Pt supported KL zeolitesen_US
dc.title.alternativeการผลิตสารอะโรเมติกส์จากนอร์มัลอัลเคนโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดแพลททินัมบนซีโอไลต์แอลที่ได้ปรับปรุงคุณภาพให้ดีขึ้นen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.email.authorSiriporn.j@chula.ac.th-
dc.email.authorOsomchai@chula.ac.th-
dc.email.authorT.Rirksomboon@unb.ca-
dc.email.authorNo information provided-
dc.discipline.code0317en_US
Appears in Collections:Petro - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
siriporn_jo_2554.pdf6.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.