Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52354
Title: The outcome of emergency patient transported by public air ambulance service in Thailand
Other Titles: ผลลัพธ์ของผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการเคลื่อนย้ายโดยบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของประเทศไทย
Authors: Atchariya Pangma
Advisors: Surasak Taneepanichskul
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: Surasak.T@Chula.ac.th,surasak.t@chula.ac.th
Subjects: Emergency medical services
Aeronautics, Commercial
Patients
บริการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
การขนส่งทางอากาศ
ผู้ป่วย
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Abstract Background: Public EMS in Thailand was established for many years ago with ground transportation. Aeromedical transport was started for military mission and Private air ambulance service was established for private insurance and pay service. Thai sky doctor service was start since 2010 by initiative idea of former Secretary-General NIEM, Dr.chatree charoenchiwakul and his team. Collaboration under MOU is tools for development of this project. More than 1 million EMS case per year were transported by ground ambulance but only 205 missions were request for pubic air ambulance service in Thailand. Methods: A Descriptive Cross Sectional study using Mixed method was used to study the outcome of emergency patient transported by Public air ambulance service (Thai sky doctor service ) in Thailand. Purposive selective for quantitative data use secondary data of all patient record from NIEM (N= 205) Qualitative data use primary data from staff who associated with Thai sky doctor service system ; National 1669 Dispatch center (N=3) ,Regional 1669 Dispatch center (N=1), Flight medical director (N=3) , Flight medical team ( N=6). Percentage, Mean, median, SD were used for descriptive data and Fisher’s Exact test were used for explore the factors associated with 1 day and 3 days outcome. Results: The results showed that 205 missions were request for pubic air ambulance service in Thailand. 184 cases were transported and 33 cases were not transport due to lack of aircraft, weather condition and patients was dead before transport. There were identified characteristic of Thai sky doctor service and factors associated with 1 and 3 day outcome post air transportation. Gender, age, disease group, patient severity, medical team, response time and transport time were not associated with 1day outcome. Gender, age, disease group, medical team, response time and transport time were not associated with 3 days outcome. While patient severity was significant difference associated with 3 days outcome at the .05 statistical level (p = .033). Conclusion: Thailand has developing public air ambulance service policy with good public concern. Patient severity before air transport are associated with delayed 3 days outcome. Further study may need to improve patient outcome and support public air ambulance service development.
Other Abstract: บทคัดย่อ พื้นหลัง: ในประเทศไทยระบบบริการแพทย์ฉุกฉินในพื้นที่ชนบทและห่างไกลยังขาดแคลนอยู่มาก โอกาสในการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยฉุกเฉินยังมีน้อย บริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของประเทศไทยได้เกิดขึ้นจากแนวนโยบายของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติในการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการให้กับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนในการเคลื่อนย้ายจากพื้นที่ห่างไกลไปยังหน่วยบริการขั้นสูงกว่าด้วยอากาศยาน อย่างไรก็ตามยังพบว่ายังขาดการศึกษาถึงลักษณะการบริการและงานวิจัยนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาลักษณะและผลลัพธ์ของการบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของประเทศไทย วิธีวิจัย: วิจัยนี้ได้ศึกษาผลลัพธ์ของการบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของประเทศไทยเชิงพรรณาโดยวิธีผสม ผู้ป่วยทุกรายได้รับการคัดเลือกเข้าสู่การวิจัยจากข้อมูลทุติยภูมิของ สพฉ.( N=205) ข้อมูลปฐมภูมิมาจากการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบนี้โดยมาจาก สพฉ.( N=3),ศูนย์1669 ระดับพื้นที่ ( N=1) แพทย์อำนวยการบิน ( N=3) ทีมลำเลียงทางอากาศ ( N=6).Mean, Median, SD.ใช้สำหรับข้อมูลเชิงบบรยายและ Fisher’s Exact test ใช้ในการทดสอบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลลัพธ์หลังการเคลื่อนย้าย 1 และ 3 วัน ผลการศึกษา: พบว่าจาก 205 ครั้งของการร้องขอใช้บริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของประเทศไทย มีผู้ป่วย 184 รายได้รับการเคลื่อนย้าย อีก 33 รายไม่ได้รับการเคลื่อนย้ายเนื่องจากขาดอากาศยาน สภาพอากาศ และผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนเคลื่อนย้าย. จากลักษณะของบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะของไทยและปัจจัยเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์หลังการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย 1 และ 3 วันพบว่า เพศ อายุ กลุ่มโรค ระดับความรุนแรง ทีมแพทย์ ระยะเวลาตอบสนอง และระยะเวลาเดินทางไม่เป็นปัจจัยเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ 1 วันหลังเคลื่อนย้าย นอกจากนี้ยังพบว่าเพศ อายุ กลุ่มโรค ทีมแพทย์ ระยะเวลาตอบสนอง และระยะเวลาเดินทางไม่เป็นปัจจัยเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ 3 วันหลังเคลื่อนย้าย แต่ระดับความรุนแรงเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ 3 วันหลังการเคลื่อนย้ายที่ระดับสถิติ .05 (p=.033) บทสรุป: ประเทศไทยมีการพัฒนานโยบายการบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะที่ได้รับการยอมรับจากสาธารณะ ระดับความรุนแรงของผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้ายเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องกับผลลัพธ์ของผู้ป่วย 3 วันหลังเคลื่อนย้าย การศึกษาเพิ่มเติมมีความจำเป็นและสำคัญต่อการช่วยเพิ่มผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้นและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบบริการอากาศยานพยาบาลสาธารณะ
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52354
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1835
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1835
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5778834053.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.