Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53124
Title: การปรับปรุงกระบวนการของการผลิตปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงในระบบคอมมอนเรล
Other Titles: Process improvement of fuel pump production in common rail system
Authors: นวลพร แสงฤดี
Advisors: จิตรา รู้กิจการพานิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: fieckp@eng.chula.ac.th
Subjects: เครื่องยนต์ดีเซล
ปั้มเชื้อเพลิง
เครื่องยนต์ดีเซล -- กระบอกสูบ
เครื่องยนต์ดีเซล -- ระบบเชื้อเพลิง
Diesel motor
Fuel pumps
Diesel motor -- Fuel systems
Diesel motor -- Cylinders
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปรับปรุงกระบวนการของการผลิตปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงในระบบคอมมอนเรล กระบวนการดังกล่าวเป็นของสายการผลิตขึ้นรูปลูกสูบปั๊มด้วยการกลึง สายการผลิตขึ้นรูปกระบอกสูบปั๊มด้วยไฟฟ้า สายการผลิตขึ้นรูปตัวเรือนปั๊ม และสายการผลิตขึ้นรูปกระบอกสูบปั๊มด้วยการกลึง สายการผลิตเหล่านี้มีการใช้แรงงานคนเป็นหลัก ซึ่งพบว่ามีปัญหาเวลาสูญเปล่าที่เกิดจากการรองาน จึงมีการใช้เครื่องมือและเทคนิคทางวิศวกรรมอุตสาหการมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนวทางการแก้ไข ขั้นตอนของการดำเนินการแก้ไขประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ การวิเคราะห์ การปรับปรุงวิธีการทำงานและการจัดสมดุลของสายการผลิตใหม่ ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงวิธีการทำงานมี 2 ประเด็นหลักคือ การปรับเปลี่ยนการทำงานของเครื่องจักรและการติดตั้งรางลำเลียงระหว่างกระบวนการทำงาน ผลที่ได้จากการปรับปรุงพบว่าในแต่ละสายการผลิตสามารถทำการผลิตได้เพิ่มขึ้น โดยสายการขึ้นรูปลูกสูบปั๊มด้วยการกลึง ผลิตได้เพิ่มขึ้น 25.0% สายการขึ้นรูปการบอกสูบปั๊มด้วยไฟฟ้า ผลิตได้เพิ่มขึ้น 33.3% สายการขึ้นรูปตัวเรือนปั๊ม ผลิตได้เพิ่มขึ้น 15.2% และสายการขึ้นรูปกระบอกสูบปั๊มด้วยการกลึง ผลิตได้เพิ่มขึ้น 24.8%
Other Abstract: To improve the production process of fuel pump in common rail system. This process comprised plunger production line, cylinder electrode production line, housing production line and cylinder grinding production line. These production lines used manpower oriented. The problem of these lines was waiting time. Industrial engineering tools and technique was used to analyze and solve the waiting time problem. There were 3 main steps of problem solving; analysis, working method improvement and production line balancing. The working method improvement consisted of 2 main concepts which were the machine system adjustment and the conveyer installation between working processes. The results of the improvement were shown that the productivity of plunger line, cylinder electrode line, housing line and cylinder grinding line increased 25.0%, 33.3%, 15.2% and 24.8%, respectively.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53124
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1061
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1061
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nualporn_sa_front.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch1.pdf741.63 kBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch2.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch3.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch4.pdf3.63 MBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch5.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_ch6.pdf621.59 kBAdobe PDFView/Open
nualporn_sa_back.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.