Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53263
Title: Digital mapping of surficial deposits in Si Mahosot Area, Changwat Prachinburi
Other Titles: การทำแผนที่ดิจิตอลของตะกอนผิวดินในพื้นที่ศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี
Authors: Nipista Pongpanit
Advisors: Sombat Yumuang
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: ysombat@chula.ac.th
Subjects: Digital mapping -- Thailand -- Prachinburi
Sediments (Geology) -- Thailand -- Prachinburi
การทำแผนที่ด้วยคอมพิวเตอร์ -- ไทย -- ปราจีนบุรี
ตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ปราจีนบุรี
Issue Date: 2015
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The study of the digital surficial mapping scales 1:50,000 is in Amphoe Si mahosot of Changwat Prachinburi and Amphoe Phanom Sarakham of Changwat Chachoengsao. The area comprises approximately 723 square kilometers. The extents of coordinates of the study area are approximately defined as 1540000 N, 736000 E northwestern edge and 1516000 N, 767000 E southeastern edge in Universal Transverse Mercator projection with 47 North zone (UTM 47N) in WGS 1984 ellipsoid. The objectives of the research is to study and generate digital surficial deposits map by using digital method which are visual classification and supervised classification from Landsat 8 OLI/TIRS image together with and digital elevation model (DEM) for analysis and interpretation. The result is shown that the surficial units in the study area can be classified into 8 units, namely; unit A, unit B, unit C, unit D, unit E, unit F, unit G and unit H. Each surficial unit has differences digitally characteristics, physical properties of sediments, elevation from MSL and spectral range which are related to geomorphology, depositional environments and land uses. The limitation of this study is the effect of urban disturbance that can be made the mistakes in analysis and interpretation. The mistakes can be corrected by field observation. Furthermore, the technique from this study may be used to further use to systematic map the surficial deposits in the other low land areas in the river floodplain basin with less time in the large area and should be very productive to update for the more accurate surficial deposits. Besides, the result from this study is hopefully to be further fruitful applied to be used for better land use management and mitigation of the natural disasters in the study area in the future.
Other Abstract: การจัดทำแผนที่ตะกอนผิวดินมาตราส่วน 1:50,000 บริเวณพื้นที่อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี และอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 725 ตารากิโลเมตร ในขอบเขตพื้นที่ 1540000N-151600N และ736000E-767000E ตามพิกัดภูมิศาสตร์ระบบ UTM 47N, WGS 1984 เพื่อศึกษาและจัดทำแผนที่ตะกอนผิวดินโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลดิจิตอลที่ได้มีการศึกษาต้นแบบตามมาตรฐานสากล ด้วยวิธีการจำแนกข้อมูลด้วยสายตา และการวิเคราะห์ด้วยวิธีการจำแนกประเภทข้อมูลแบบควบคุม (Supervised classification) โดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat 8 OLI/TIRS (Panchromatic band 8) ข้อมูลแบบจำลองความสูงเชิงตัวเลข และข้อมูลการตรวจสอบในภาคสนาม ร่วมกันในการวิเคราะห์ประมวลผลและแปลความหมาย ผลจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถจำแนกหน่วยตะกอนผิวดิน ได้ทั้งหมด 8 หน่วย ได้แก่ หน่วยตะกอน A หน่วยตะกอน B หน่วยตะกอน C หน่วยตะกอน D หน่วยตะกอน E หน่วยตะกอน F หน่วยตะกอน G และหน่วยตะกอน H โดยหน่วยตะกอนผิวดินแต่ละหน่วยมีความแตกต่างกันของลักษณะทางกายภาพของตะกอนผิวดิน ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลที่สะสมตัว และช่วงคลื่นของการตรวจวัด ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการสะสมตัวตามธรณีสัณฐาน การพัฒนาของหน้าดิน การตั้งถิ่นฐาน และการใช้ทรัพยากร สำหรับข้อจำกัดของการศึกษาครั้งนี้พบว่า ในบางบริเวณที่มีความหนาแน่นของชุมชนเมืองทำให้การวิเคราะห์ประมวลผลและแปลความหมายเกิดความผิดพลาดได้ ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากข้อมูลภาคสนาม นอกจากนั้นวิธีการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คาดว่าจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ทำให้แบ่งหน่วยตะกอนผิวดิน ที่สามารถนำไปทำการปรับปรุงการทำแผนที่หน่วยตะกอนผิวดินของที่ราบลุ่มน้ำของประเทศไทยในพื้นที่อื่นๆ ได้อย่างเป็นระบบ ที่มีความละเอียดมากขึ้น ภายในเวลาและงบประมาณที่จำกัด ซึ่งข้อมูลจากการศึกษาในครั้งนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจัดการและการใช้พื้นที่ รวมทั้งการลดผลกระทบจากพิบัติภัยจากธรรมชาติในพื้นที่ศึกษาต่อไป
Description: A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2015
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53263
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532724923.pdf7.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.