Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์-
dc.contributor.authorวิภาวรรณ โลกนิมิตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialพังงา-
dc.coverage.spatialเกาะพระทอง (พังงา)-
dc.date.accessioned2017-10-27T02:17:57Z-
dc.date.available2017-10-27T02:17:57Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53603-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา . คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552en_US
dc.description.abstractหลังจากเหตุการณ์สึนามิปี พ.ศ. 2547 Jankaew et al. (2008) รายงานการค้นพบสึนามิโบราณที่เกาะพระทอง อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา โดยพบชั้นตะกอนทรายสึนามิเมื่อปี พ.ศ. 2547 และสึนามิโบราณที่วางตัวอยู่ด้านล่างอีกจำนวนทั้งหมด 3 ชั้นในร่องสำรวจ ซึ่งมีความยาวประมาณ 36 เมตรห่างจากชายฝั่งประมาณ 400 เมตร เมื่อนำตะกอนทรายสึนามิปี พ.ศ. 2547 มาคัดแยกฟอแรม และออสตราคอดพบว่ามีฟอแรมทั้งหมด 70 ชนิด 42 สายพันธุ์ โดยชนิดที่พบมากที่สุดคือ Ammonia beccarii เป็นฟอแรมที่อาศัยอยู่บนพื้นทะเลในช่วงความลึก 0-50 เมตร นอกจากนี้ยังพบ Operculina ammonoides ที่อาศัยอยู่ในช่วง 20-70 เมตร และ Amphistegina radiata อยู่ในช่วง 20-90 เมตร ซึ่งจากระดับความลึก 20-90 เมตรที่ O. ammonoides และ A. radiata อาศัยอยู่ แสดงถึงระดับความลึกที่คลื่นสึนามิสามารถกวาดลงไปได้พาตะกอนและฟอแรมเหล่านี้ขึ้นมาสะสมตัวบนฝั่งได้ นอกจากนี้ออสตราคอดที่พบมีทั้งหมด 40 ชนิด 34 สายพันธุ์ สายพันธุ์ที่พบมากที่สุดคือ Proportocypris reticulate ซึ่งเป็นออสตราคอดที่อาศัยอยู่บนพื้นทะเล บริเวณน้ำตื้น บริเวณพื้นโคลนปนทราย โดยมีความลึกไม่เกิน 15 เมตร Jankaew et al. (2008) รายงานว่าพบฟอแรมที่อยู่ในชั้นสึนามิโบราณชั้นแรกที่วางอยู่ล่างชั้นตะกอนทรายสึนามิเมื่อปี พ.ศ. 2547 และชั้นดินเหนียวสีดำ แต่เนื่องจากฟอแรมมีความสมบูรณ์มาก จึงคาดว่าน่าจะปนเปื้อนมาจากตะกอนสึนามิเมื่อปี พ.ศ. 2547 และจากการสำรวจตะกอนสึนามิโบราณอีก 2 ชั้นล่างสุดในรายงานนี้ ไม่พบทั้งฟอแรมและออสตราคอด ซึ่งคาดว่าบริเวณที่ขุดร่องสำรวจเป็นแอ่งน้ำที่มีระดับน้ำใต้ดินสูงในหน้าน้ำและมีน้ำขังเกือบตลอดทั้งปี อาจส่งผลให้ทั้งฟอแรมและออสตราคอดที่อาจมีอยู่ในชั้นตะกอนทรายสึนามิโบราณถูกละลายออกไปหมด จากงานวิจัยในครั้งนี้สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้เป็นฐานข้อมูลการกระจายตัวของฟอแรมและออสตราคอดที่พบในบริเวณชายฝั่งอันดามันของประเทศไทยได้en_US
dc.description.abstractalternativeAfter the 2004 Indian Ocean tsunami, Jankaew et al. (2008) discovered the paleotsunami at Pra Thong Island, Changwat Phang-Nga. They found four sand sheets in the trench which is 36 m. length and located inland far from the coastal about 400 m The upper most sand sheet is the 2004 tsunami sediments and other three sand sheets below are the paleotsunami sediments. Foraminifera and ostracod were picked up from the 2004 sand sheet sediments. It contains 70 foraminifera species belonging to 42 genus. The Ammonai beccarii is the most abundant. This species dominated of the fauna at 0-50 m. depth. Moreover, Operculina ammonoides lived at 20-70 m depth and Amphistegina radiate dominated at 20-90 m depth have been found. Both O. ammonoides and A. radiate found in this study can be referred as tsunami wave base which were moved along with sediments from the bottom ocean (about less than 20 m) and deposited on the coast. In addition, a total 40 ostracod species belonging to 32 genus were found. Propontocypris reticulate is the most abundant. This species is dominate of epifauna at the shallow marine, less than 15 m depth. Neither, foraminiferas and ostracods have been found in the paleotsunami sediments. This might be because the study area located in the wet swale which cause high rate of dissolution of foraminiferas and ostracods. The data obtained in this project can be referred to assemblage and distribution of the foraminiferas and ostracods along the Andaman coast of Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectออสตราโคดา, ซากดึกดำบรรพ์en_US
dc.subjectออสตราโคดา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทยen_US
dc.subjectออสตราโคดา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectออสตราโคดา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- เกาะพระทอง (พังงา)en_US
dc.subjectฟอแรมินิเฟอรา, ซากดึกดำบรรพ์en_US
dc.subjectฟอแรมินิเฟอรา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทยen_US
dc.subjectฟอแรมินิเฟอรา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectฟอแรมินิเฟอรา, ซากดึกดำบรรพ์ -- ไทย -- เกาะพระทอง (พังงา)en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)en_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทยen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- เกาะพระทอง (พังงา)en_US
dc.subjectสึนามิen_US
dc.subjectสึนามิ -- ไทยen_US
dc.subjectสึนามิ -- ไทย -- พังงาen_US
dc.subjectสึนามิ -- ไทย -- เกาะพระทอง (พังงา)en_US
dc.subjectOstracoda, Fossilen_US
dc.subjectOstracoda, Fossil -- Thailanden_US
dc.subjectOstracoda, Fossil -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectOstracoda, Fossil -- Thailand -- Ko Phra Thong (Phang Nga)en_US
dc.subjectForaminifera, Fossilen_US
dc.subjectForaminifera, Fossil -- Thailanden_US
dc.subjectForaminifera, Fossil -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectForaminifera, Fossil -- Thailand -- Ko Phra Thong (Phang Nga)en_US
dc.subjectSediments (Geology)en_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailanden_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand -- Ko Phra Thong (Phang Nga)en_US
dc.subjectTsunamisen_US
dc.subjectTsunamis -- Thailanden_US
dc.subjectTsunamis -- Thailand -- Phang Ngaen_US
dc.subjectTsunamis -- Thailand -- Ko Phra Thong (Phang Nga)en_US
dc.titleกลุ่มฟอแรมและออสตราคอดในตะกอนสึนามิ 2004 และสึนามิโบราณที่เกาะพระทอง จังหวัดพังงาen_US
dc.title.alternativeForam and ostracod assemblages in 2004 tsunami and paleotsunami sediments at Pra Thong Island, Changwat Phang-Ngaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorthasineec@gmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vipawan_ Full Report.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.