Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55680
Title: Factors Associated with the Functional Drink Consumption of BangkokResidents, Thailand
Other Titles: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันของผู้อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
Authors: Fahmida Sultana
Advisors: Nutta Taneepanichskul
Other author: Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences
Advisor's Email: Nutta.T@chula.ac.th,nutta.t@chula.ac.th
Issue Date: 2016
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Functional drink is a prominent product category under the functional food sector. Health benefit belief from functional foods emerges as the strongest positive determinant of willingness to consume functional drink. Most common ingredients in these functional drinks are sugar, fructose and maltitol which are the source of carbohydrate. These ingredients also have some negative effects on human body if consume frequently. Thus the purpose of this cross-sectional study was to investigate the factors associated with the functional drinks consumption behaviour of Bangkok residents, Thailand. The survey was conducted among adult of Thai nationalists for both male and female with age range of 18 to 65 years in metropolitan area of Bangkok. Structured questionnaire was used to collect data. Data were analyzed by Chi-square test and t-test. It has been observed that majority of the respondents (88.40%) consumed functional drinks at least once in a life. The percentage of consumption of functional drink was higher for female (62.2%) than male (37.8%) among who consumed functional drinks once in a life. As a reason to choose any kind of functional drinks, 46.8% of the respondents mentioned “for better health”. Statistically significant association (p<0.05) was found between ever consumption of functional drinks and health concern level and also between ever consumption of functional drinks and ingredients of drinks. Regarding the motivational factor, ‘Interesting Advertisement’, 62.30% respondents’ of the opinion was for ‘Important’. Consumption of functional drinks was common among majority of the Bangkok residents. Media campaign about the sugary functional drinks would be effective for raising awareness about added sugars in functional drinks, increasing knowledge about health problems associated with excessive sugar consumption.
Other Abstract: เครื่องดื่มฟังก์ชันเป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ (อาหารฟังก์ชัน) ซึ่งเมื่อบริโภคเข้าไปแล้วทำให้เกิดประโยชน์บางอย่างต่อร่างกายเชิงสุขภาพ ส่วนผสมส่วนใหญ่ของเครื่องดื่มฟังก์ชันประกอบด้วย น้ำตาลฟรุกโตส และมัลติทอล ซึ่งเป็นสารให้ความหวาน ส่วนประกอบทั้งสองเป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตที่สำคัญ แต่อย่างไรก็ตามส่วนผสมทั้งสองชนิดนี้ยังส่งผลในเชิงลบต่อสุขภาพสำหรับผู้บริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันเป็นประจำ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันของผู้อยู่อาศัย ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการสำรวจแบบภาคตัดขวางในกลุ่มผู้อยู่อาศัยในเขตเมืองของกรุงเทพมหานคร ทั้งเพศชายและหญิง อายุระหว่าง 18 – 65 ปี แบบสอบถามได้ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือการวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบไคสแควร์ และ การทดสอบ Independent Sample T-test ผลการวิจัยพบว่า ร้อยละ 88.40 ของกลุ่มตัวอย่างที่ทำการสำรวจในครั้งนี้ เคยบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชัน เพศหญิงและเพศชายมีการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันคิดเป็นร้อยละ 62.1 และ 37.8 ตามลำดับ ร้อยละ 46.8 ของกลุ่มผู้บริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชัน ให้เหตุผลของการดื่มเครื่องดื่มฟังก์ชันไว้ว่า เพื่อทำให้สุขภาพดีขึ้น และร้อยละ 62.3 รายงานว่าปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชัน คือ ความน่าสนใจของโฆษณา จากการวิเคราะห์ทางสถิติพบ ความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันและระดับของความตระหนักถึงสุขภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันและส่วนผสมของเครื่องดื่มฟังก์ชัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติน้อยกว่า 0.05 จากการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่ของผู้อยู่อาศัยในเขตเมืองของกรุงเทพมหานครเคยดื่มเครื่องดื่มฟังก์ชัน ดังนั้นควรมีการรณรงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงการบริโภคเครื่องดื่มฟังก์ชันในมุมมองของเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ โดยการให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจากการบริโภคน้ำตาลมากเกินความจำเป็นของร่างกาย
Description: Thesis (M.P.H.)--Chulalongkorn University, 2016
Degree Name: Master of Public Health
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Public Health
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55680
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1839
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.1839
Type: Thesis
Appears in Collections:Pub Health - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5878845053.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.