Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasert Pavasant-
dc.contributor.authorViriya Madacha-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Engineering-
dc.date.accessioned2017-12-18T09:28:38Z-
dc.date.available2017-12-18T09:28:38Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56562-
dc.descriptionThesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2006en_US
dc.description.abstractThe biosorption of heavy metals onto biomaterial derived from the marine alga, Caulerpa lentillifera, was investigated. The biosorption equilibrium was determined as a function of initial heavy metal concentration, sorbent dose, agitation rate and temperature on biosorption. The uptakes of Cu²⁺, Pb²⁺ and Cd²⁺ from aqueous solution increased with initial metal concentration and decreased with biosorbent dose. The optimal agitation rate was determined at 150 rpm for all heavy metal ions at 20 degree celsius. The biosorption of Cu²⁺, Cd²⁺ and Pb²⁺ on the biomass was correlated well (R² > 0.99) with the Langmuir isotherm as compared to Freundlich isotherm under the concentration range studied. According to Langmuir isotherm, the maximum sorption capacities were 0.19, 0.11 and 0.18 mmol g⁻¹ for Cu²⁺, Cd²⁺ and Pb²⁺ ions, respectively. The pseudo-first-order and pseudo-second-order kinetic models were applied to test the experimental data and the results were better described using the pseudo-second-order. Thermodynamic examination of the sorption (the Gibbs free energy, entropy and enthalpy) demonstrated that the biosorption process was spontaneous and endothermic under natural conditions. Ion exchange took part as a significant mechanism in the sorption of Cu²⁺ and Cd²⁺, but not for Pb²⁺. The level of ion exchange was lower with an increase in the initial metal concentration which indicated the limitation of the metals for the ion exchange process.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ศึกษาการดูดซับทางชีวภาพของโลหะหนักบนตัวดูดซับทางชีวภาพจากสาหร่ายช่อพริกไทย จากการศึกษาพบว่าสภาวะสมดุลของการดูดซับขึ้นอยู่กับ ความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายโลหะหนัก ปริมาณตัวดูดซับ อัตราเร็วรอบกวน และอุณหภูมิในการดูดซับ นอกจากนี้ยังพบว่า โดยความสามารถในการดูดซับต่อมวลตัวดูดซับของทองแดง ตะกั่ว และแคดเมียมในสารละลายเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นเริ่มต้นของโลหะหนักเพิ่มขึ้น และจะลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณของสาหร่าย ความเร็วรอบกวนที่เหมาะสมที่ใช้ในการดูดซับคือ 150 รอบต่อนาที ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เมื่อนำแบบจำลองไอโซเทิร์นของแลงเมียร์มาทำนายการดูดซับทางชีวภาพพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มากกว่า 0.99 ซึ่งมีค่าสูงกว่าการทำนายด้วยแบบจำลองไอโซเทิร์มของฟรุนดิช จากการทำนายพบว่าความสามารถในการดูดซับของทองแดงตะกั่ว และแคดเมียมที่สูงที่สุดของสาหร่ายช่อพริกไทยคือ 0.19, 0.11 และ 0.18 มิลลิโมลต่อกรัม ตามลำดับและการทำนายจลนพลศาสตร์ของการดูดซับสามารถทำนายได้ด้วยสมการอัตราการเกิดปฏิกิริยาอันดับสองได้ดีกว่าสมการอัตราการเกิดปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง จากการศึกษาด้านอุณหพลศาสตร์ของการดูดซับ (เกี่ยวกับพลังงงานเสรีของกิ๊บ, เอนโทรปี, เอนทัลปี) พบว่าการดูดซับสามารถเกิดขึ้นได้เองและปฏิกิริยาการดูดซับที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อนสำหรับช่วงอุณหภูมิที่ทำการศึกษา และกลไกการแลกเปลี่ยนไอออนเป็นกลไกหลักในการดูดซับ ทองแดง แคดเมียม แต่ไม่ใช่กลไกหลักสำหรับการดูดซับตะกั่วและระดับการแลกเปลี่ยนไอออนจะมีค่าลดลงเมื่อเพิ่มความเข้มข้นเริ่มต้นของโลหะหนักซึ่งแสดงให้เห็นถึงความจำกัดของกระบวนการแลกเปลี่ยนไอออนโลหะหนักen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1988-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectHeavy metals -- Absorption and adsorptionen_US
dc.subjectCaulerpa lentilliferaen_US
dc.subjectAdsorption (Biology)en_US
dc.subjectโลหะหนัก -- การดูดกลืนและการดูดซับen_US
dc.subjectสาหร่ายช่อพริกไทยen_US
dc.subjectการดูดซับ (ชีววิทยา)en_US
dc.titleKinetics of biosorption of heavy metals by Caulerpa lentilliferaen_US
dc.title.alternativeจลนพลศาสตร์การดูดซับทางชีวภาพของโลหะหนักด้วยสาหร่ายช่อพริกไทยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Engineeringen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineChemical Engineeringen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorprasert.p@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1988-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
viriya_ma_front.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_ch1.pdf566.22 kBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_ch2.pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_ch3.pdf523.38 kBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_ch4.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_ch5.pdf392.7 kBAdobe PDFView/Open
viriya_ma_back.pdf2.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.