Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56640
Title: การวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ทางสังคมและการเมือง ของนิสิตนักศึกษาเกี่ยวกับภาวะวิกฤตในประเทศไทย
Other Titles: An analysis of factors related to university students' political and social perception of critical issues in Thailand
Authors: ศาณี สุวรรณพัฒน์
Advisors: ธิดารัตน์ บุญนุช
พรรณราย ทรัพยะประภา
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Thidarat.B@chula.ac.th
Paranrai.s@chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Subjects: นักศึกษา -- ความสนใจทางการเมือง
การรับรู้ทางสังคม
วิกฤตการณ์ -- ไทย
Students -- Political aspects
Social perception
Crises -- Thailand
Issue Date: 2537
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัย[ครั้ง]นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองของนิสิตนักศึกษาเกี่ยวกับภาวะวิกฤตในประเทศไทย 2. เปรียบเทียบระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองเกี่ยวกับภาวะวิกฤตระหว่างเพศ สาขาที่ศึกษา สถานภาพทางเศรษฐสังคมของครอบครัวและประเภทของมหาวิทยาลัย 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ทางสังคมและการเมืองกับบุคลิกภาพของนิสิตนักศึกษา 4. วิเคราะห์ตัวแปรที่สามารถจำแนกกลุ่มผู้ที่มีระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองสูง กลุ่มผู้ที่มีระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองต่ำ ผลการวิจัย พบว่า 1. นิสิตนักศึกษามีระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองค่อนข้างสูง แต่การตอบสนองต่อวิกฤตทางสังคมและการเมืองค่อนข้างต่ำ 2. ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองระหว่างตัวแปรเพศ สาขาที่ศึกษา สถานภาพทางเศรษฐสังคม และประเภทมหาวิทยาลัย 3. มีสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ทางสังคมและการเมืองกับบุคลิกภาพของนิสิตนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 4. ตัวแปรที่สามารถจำแนกกลุ่มผู้ที่มีระดับการรับรู้ทางสังคมและการเมืองสูงและต่ำ บุคลิกภาพ ด้านมโนธรรม การเข้าสังคม การควบคุมอารมณ์ สถานการณ์ด้านการสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมนิสิตนักศึกษา
Other Abstract: The purpose of this research were (1) to study university students’ political and social perceptions of critical issues in Thailand (2) to compare level of political and social perceptions of critical issues in variables: sex, fields of study, socio-economic status and types of universities (3) to analyze the relationship between political and social perceptions and students’ personality (4) to analyze variables discriminating the groups of high and low levels of political and social perception. The findings were (1) University students had nearby high levels of political and social perception, but nearly low levels of responsive to the critical issues. (2) The levels of political and social perceptions were not significantly difference in sex, fields of study, socio-economic status and types of universities. (3) The relationship between political and social perception and students’ personality was at the .00 level of significance (4) The variables that could discriminate the groups of high and low levels o social and political perception were superegostrenght, social participation, controlled exacting will power, mass communication situation and participation in student activity.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537
Degree Name: ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาเอก
Degree Discipline: อุดมศึกษา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56640
ISBN: 9745845671
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sanee_su_front.pdf706.87 kBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_ch1.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_ch2.pdf6.1 MBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_ch3.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_ch4.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_ch5.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
Sanee_su_back.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.