Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56746
Title: การพัฒนาเซรามิกพรุนจากดินแดงท้องถิ่น และวัสดุเหลือทิ้งในอุตสาหกรรม : รายงานฉบับสมบูรณ์
Other Titles: Development of porous ceramic form local red clay and industries waste
Authors: สิริพรรณ นิลไพรัช
ธนากร วาสนาเพียรพงศ์
กฤษณา ศิรเลิศมุกุล
รัฐพล รังกุพันธ์
ศรีไฉล ขุนทน
ยุทธนา แก้วตาบุตร
ขนิษฐา หนูมั่น
อภิรัฐ ธีรภาพวิเศษพงษ์
Email: Siripan.N@Chula.ac.th
Thanakorn.W@chula.ac.th
Krisana.S@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
Srichalai.K@Chula.ac.th
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
ไม่มีข้อมูล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: วัสดุรูพรุน
เครื่องเคลือบดินเผา
ของเสียจากโรงงาน -- การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
Porous materials
Ceramics
Factory and trade waste -- Recycling (Waste, etc.)
Issue Date: 2556
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ส่วนที่ 1 การพัฒนาอิฐเซรามิกปูพื้นสาหรับระบายน้า โครงการวิจัยพัฒนาอิฐเซรามิกปูพื้นสาหรับระบายน้ามีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาอิฐเซรามิกปูพื้นระบายน้า เพิ่มพื้นที่ในการรับน้า ลดปัญหาการระบายน้า โดยใช้ได้ดินแดงและของเสียจากอุตสาหกรรมเซรามิกเป็นวัตถุดิบ โดยเปรียบเทียบคุณสมบัติกับบล็อกคอนกรีตปูพื้นระบายน้าที่มีจาหน่ายอยู่ในท้องตลาด ในส่วนงานวิจัยนี้ได้นาพิทเชอร์หรือเศษเครื่องสุขภัณฑ์เซรามิกที่แตกหัก ดินแดง ตะกอนดินจากน้าทิ้งในโรงงานสุขภัณฑ์ และผงแก้วจากตะกอนน้าทิ้งในโรงงานตัดแต่งแปรรูปกระจกมาใช้ประโยชน์ พิทเชอร์ทาหน้าที่เป็นมวลรวมหยาบ ทาการบดหยาบและแยกกลุ่มขนาดอนุภาคออกเป็น 5 กลุ่ม ส่วนเนื้อดินและผงแก้ว ใช้เป็นเนื้อพื้นโดยนามาทดสอบสมบัติทางเคมีและกายภาพ บดและคัดขนาดผ่านตะแกรง 200 เมช จากนั้นได้ทดลองเพื่อหาสูตรเนื้อพื้น หาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเผา หาสัดส่วนของขนาดและปริมาณมวลรวมหยาบ ทาการวัดสมบัติทางกายภาพของตัวอย่างหลังเผาได้แก่ ความหนาแน่น ความพรุนตัว การดูดซึมน้า อัตราการไหลซึม และความต้านทานแรงกด ผลการทดลองจะพบว่า สูตรเนื้อพื้น GC40S40 ผสมกับ มวลรวมหยาบสูตร (245) ในอัตราส่วน 10:2 และนาไปเผาที่อุณหภูมิ 1150 องศาเซลเซียส จะให้สมบัติที่ดีที่สุด โดยมีความต้านทานแรงกด 6.32 MPa อัตราการไหลซึมของน้าผ่านชิ้นงานอิฐ 586 ลิตรต่อตารางเมตรต่อนาที ในขณะที่บล็อกคอนกรีตปูพื้นระบายน้าจากท้องตลาด พบว่ามีความต้านทานแรงกด 6.33 MPa และ อัตราการไหลซึมของน้า 448 ลิตรต่อตารางเมตรต่อนาที ซึ่งพบว่าความต้านทานแรงกดใกล้เคียงกัน แต่อัตราการไหลซึมของน้าผ่านชิ้นงานอิฐเซรามิกที่พัฒนาขึ้นมีค่าสูงกว่าถึงร้อยละ 31.42 ส่วนที่ 2 วัสดุพรุนนาส่งสมุนไพรบาบัด การเตรียมตกแต่งกลิ่นหอมให้ผลิตภัณฑ์ดินเผา โดยการเคลือบด้วยไมโครแคปซูลพอลิเมอร์บรรจุน้ามันหอมระเหย ในขั้นตอนของการวิจัยประกอบไปด้วยการเตรียมชิ้นงานดินตัวอย่างที่เตรียมขึ้นโดยการหล่อน้าดิน และใช้การผสมดินตะกอนน้าประปาในสัดส่วนร้อยละโดยมวลต่อน้าหนักดิน VI ต่างๆ กัน คือ 5 10 20 และ 30 เพื่อสร้างสมบัติพรุนตัวให้แก่ชิ้นงาน โดยมีค่าเป้าหมายการดูดซึมน้าของผลิตภัณฑ์ไม่ต่ากว่าร้อยละ 30 ชิ้นงานจากกระบวนการหล่อน้าดินโดยใช้ดินจากกระบวนการทาอิฐจากอาเภอป่าโมก และอาเภอไชโย จังหวัดอ่างทองเป็นวัตถุดิบหลัก และพบว่าที่ปริมาณการเติมดินตะกอนน้าประปาร้อยละ 30 โดยน้าหนักให้ค่าการดูดซึมน้าของชิ้นงานที่เพิ่มขึ้นมาก โดยมีค่าการดูดซึมน้าของชิ้นงาน ก่อนและหลังผสมดินตะกอนน้าประปา ที่ร้อยละ 15.26 และ18.01 และ 36.01 และ 27.64 สาหรับอาเภอป่าโมก และอาเภอไชโย ตามลาดับ โดยที่ดินจากอาเภอป่าโมกสามารถขึ้นรูปได้ชิ้นงานที่สมบูรณ์และมีการแตกหักเสียหายน้อยกว่า ไมโครแคปซูลไคโตซานและไมโครแคปซูลบรรจุน้ามันหอมระเหย ได้เตรียมขึ้นรูปโดยใช้เทคนิคอิมัลชั่นชนิดน้ามันในน้า ร่วมกับการเชื่อมขวางไคโตซานด้วยสารไทรพอลิฟอสเฟต ได้ไมโครแคปซูลไคโตซานขนาด 5-10 ไมโครเมตร มีความคงตัวได้ดีในเอทานอล และมีค่าร้อยละการบวมตัวในน้ากลั่นร้อยละ 50 ที่อัตราส่วนของไคโตซานต่อน้ามันหอมระเหยต่างๆ กัน (0.48:0.10, 0.48:0.30, 0.48:0.50 และ0.48:0.75) พบว่าประสิทธิภาพการกักเก็บน้ามันหอมระเหยที่สูงสุดอยู่ที่อัตราส่วนของพอลิเมอร์ต่อน้ามันหอมระเหย เท่ากับ 0.48:0.10 ในน้ามันหอมระเหยทั้งสองชนิด โดยมีค่ากักเก็บสูงสุด ที่ร้อยละ 22.00 และ15.60 สาหรับเจอรานิออล และ ลาเวนเดอร์ ตามลาดับ การศึกษาการปลดปล่อยน้ามันหอมระเหยจากไมโครแคปซูล ในสภาวะปิดที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 15 วัน พบว่า มีปริมาณน้ามันหอมระเหยคงเหลือในไมโครแคปซูลไคโตซาน ร้อยละ 54.11 และ 69.32 สาหรับ ลาเวนเดอร์และเจอรานิออล ตามลาดับ VII
Other Abstract: Part 1: Development of floor brick for water drainage The main objective of the project “Development of floor brick for water drainage” is to develop for permeable paving brick by clay and wastes from ceramic industry comparing the properties with porous concrete in the market. Raw materials in this project are red clay, sanitaryware pitcher and sanitaryware factory’s water treatment sludge; wastes from ceramic industry and glass powder from grinding process; waste from glass industry. The pitcher was selected to be an aggregate and separate to 5 groups in particle size after crushing. The clays and cullet were used as the matrix and were characterized their chemical and physical properties. All fine particle wastes were ground and sieved through a 200 mesh screen. Compositions of the matrix were studied to investigate the firing conditions and ratio of the aggregate. Physical properties, bulk density, porosity, water absorption water permeability and compressive strength of fired samples were measured. The results showed that the suitable for mixed matrix powder and aggregate was GC40S40 and (245), respectively. The composition for brick sample was prepared by using the ratio of mixed aggregate to mixed matrix powder at 10:2. Brick samples were fired at 1150 °C before their physical properties were obtained. The average compressive strength of brick was 6.32 MPa and water permeability is 586 liters per square meter per minute. The properties of porous concrete showed compressive strength was 6.33 MPa and water permeability is 448 liters per square meter per minute. The compressive strength is close to the reference value, and water permeability is higher than the reference value of 31.42 percent. Part 2: Materials as herb therapy carrier Preparation of aroma pottery by using microcapsule polymer containing essential oil was prepared. Research process including 1) A sample of pottery prepared by slip casting process. For an VIII increasing in the porous property of sample was obtained by an addition of sediment soil from water supply process. Minimum water absorption of 30% would be required for the sample. The condition for sample from slip casting process was used of clay from Pamok and Chai Yo District (Ang Thong) as raw materials. The water absorption of sample forming from Pamok and Chai Yo District (Ang Thong) before and after an addition of sediment soil from water supply process is 15.26, 18.01 and 36.01, 27.64 respectively but clay from Pamok District was result in suitable condition for sample forming due to less damage. Chitosan microcapsule and microcapsule containing essential oil were prepared by using oil in water emulsion process and followed by crosslink with sodium tripolyphosphate. The chitosan micro- bead with size range between 5-10 micrometer was obtained. Micro-bead can be stable when soak into ethanol and approximately 50% swelling in distilled water was occurred. The various ratio of chitosan to oil consist of 0.48:0.10, 0.48:0.30, 0.48:0.50, and 0.48:0.75 were prepared. The highest entrapment efficiencies for both of geraniol and lavender oil are 22.00 and 15.60 respectively which obtained from the ratio of 0.48:0.10. The oil release from microcapsules was observed at closed system after 15 days. The amount of lavender and geraniol oil that remains is 54.11 and 69.32% respectively.
Discipline Code: 0318
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56746
Type: Technical Report
Appears in Collections:Metal - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siripan_nil_016177.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.